Page 114 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 114
ตารางที่ 4.3 ตัวอย่างบางส่วนของรายงานที่แสดงถึงสิทธิในการมีส่วนร่วมในการบ ารุงรักษาทรัพยากร
เรื่อง : สิทธิชุมชน กรณีการคัดค้านการให้ประทานบัตรท าเหมืองหินปูนในบริเวณภูเขาถ ้าเอราวัณ และโรงปูนซีเมนต์
ต าบลช่องสาริกา อ าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
ความเป็นมา : พื้นที่เขาถ ้าเอราวัณตั้งอยู่ในหมู่ที่ ๙ หมู่ที่ ๑๒ และหมู่ที่ ๑๓ ต าบลช่องสาริกา อ าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี
พื้นที่อยู่ในเขตนิคมสร้างตนเองจังหวัดลพบุรี ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งนิคมสร้างตนเองในจังหวัดลพบุรี และจังหวัดสระบุรี
่
่
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๑๘ ภูเขาลูกนี้ไม่อยู่ในเขตปาสงวนแห่งชาติ วนอุทยานแห่งชาติ สวนรุกขชาติ เขตห้ามล่าสัตว์ปา เขตรักษา
่
่
พันธุ์สัตว์ปา และสวนปา มีพื้นที่ประมาณ ๒.๔ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๑,๕๐๐ ไร่ เขาถ ้าเอราวัณเป็นภูเขาหินปูนขนาด
กลาง บริษัท โอเชี่ยนซีเมนต์ จ ากัด ได้ยื่นค าขอประทานบัตร ๖ แปลง เพื่อท าเหมืองแร่หินปูน ในพื้นที่เขาถ ้าเอราวัณ เพื่อใช้ใน
โรงปูนซีเมนต์ของบริษัท โอเชี่ยนซีเมนต์ จ ากัด ซึ่งจะท าการก่อสร้างในที่ราบเชิงเขาถ ้าเอราวัณ ผู้ร้องกับพวกเกรงอันตรายจะ
เกิดแก่การด ารงชีวิตของราษฎร ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอันอุดมสมบูรณ์ของเขาถ ้าเอราวัณ ซึ่งราษฎร
ต้องการจะรักษาไว้
ความเห็น : คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นว่า......................................
๑. เขาถ ้าเอราวัณ อยู่ห่างจากที่ว่าการอ าเภอเมืองลพบุรีประมาณ ๑๕ กิโลเมตร มีภูมิประเทศที่มีคุณค่า
ั
ยิ่ง สมควรสงวนรักษาไว้เป็นแหล่งศึกษาธรรมชาติภูเขาหินปูน ของจังหวัดลพบุรี ซึ่งปจจุบันภูมิประเทศเช่นนี้จะถูกท าลายจาก
โรงโม่หินและโรงปูนซีเมนต์ ยิ่งกว่านั้นภายในถ ้าต่าง ๆ ของภูเขาลูกนี้ยังพบเครื่องใช้ของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สามารถ
ใช้เป็นแหล่งศึกษาการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์โบราณได้...................................
๒. จากการศึกษาเอกสารรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมของการก่อสร้างโรงปูนซีเมนต์ พบว่าการตั้ง
โรงงานซีเมนต์ครั้งนี้ยังต้องใช้วัตถุดิบจากแหล่งหินปูนอื่น เช่นจาก น ่าเฮงศิลา รุ่งอรุณศิลา และศิลานิยมชัย โดยระบุแหล่งที่ตั้ง
ของหินปูนในภูเขาข้างเคียง ซึ่งยังเป็นที่กังขาว่า แหล่งหินปูนที่ระบุได้รับประทานบัตรแล้วหรือไม่ และประชาชนในละแวกนั้น
ั
รับรู้เรื่องประทานบัตรเหล่านั้นหรือไม่ รวมถึงถ้ามีการระเบิดหินจากภูเขาข้างเคียงจริง ย่อมก่อให้เกิดมลพิษและปญหา ต่าง ๆ
เช่น การระเบิดหินที่ภูเขาถ ้าเอราวัณเช่นกัน.....................................
ข้อสรุป
๑. เขาถ ้าเอราวัณมีคุณค่าทั้งด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ความงดงามของธรรมชาติภูผาถ ้า เป็น
่
แหล่งอาศัยของสัตว์ปาและพันธุ์พืชหายาก และเป็นแหล่งโบราณคดีที่จะสืบทอดอารยธรรมจากยุคก่อนประวัติศาสตร์ ถึงยุค
ั
ประวัติศาสตร์สมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงยุคปจจุบัน มีคุณค่าเกินกว่าจะระเบิดภูเขาน าไปผลิตซีเมนต์ สมควรใช้พื้นที่
่
เพื่อการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และอารยธรรมของจังหวัดลพบุรี คณะอนุกรรมการฯเห็นด้วยที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา
่
และพันธุ์พืช จะประกาศพื้นที่ภูเขาถ ้าเอราวัณเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ปา
๒. ส าหรับกรณีโรงปูนซีเมนต์นั้น ไม่มีเหตุผลสมควรที่จะก่อสร้างในพื้นที่บริเวณเขาถ ้าเอราวัณ เนื่องจาก
ในบริเวณจังหวัดสระบุรีซึ่งอยู่ติดกับจังหวัดลพบุรี มีโรงปูนซีเมนต์อยู่มากมาย และมีอัตราการผลิตจ านวนมากอยู่แล้ว ดังนั้น
หากมีการอนุญาตให้ก่อสร้าง จะไปขัดขวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดลพบุรี รวมถึงท าลายสภาพแวดล้อม สร้างแหล่ง
มลพิษ และท าลายวิถีชีวิตชุมชน โดยไม่คุ้มค่าและไม่จ าเป็น
ข้อ ๔. มาตรการการแก้ไขปัญหา
่
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีข้อเสนอต่อกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา และพันธุ์พืช กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และจังหวัดลพบุรี ดังนี้
่
๔.๑ ให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา และพันธุ์พืช เร่งด าเนินการเพื่อให้มีการประกาศในราชกิจจา
่
นุเบกษา ให้พื้นที่เขาถ ้าเอราวัณเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ปา ภายใน ๙๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้
๔.๒ ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมยุติเรื่องการอนุญาตให้ตั้งโรงปูนซีเมนต์ ในบริเวณต าบลช่องสาริกา
อ าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้
๔.๓ ให้ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมน ารายงานฉบับนี้เสนอต่อ
คณะกรรมการผู้ช านาญการฯ เพื่อประกอบการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการโรงงานผลิต
ปูนซีเมนต์ของบริษัท โอเชี่ยน ซีเมนต์ จ ากัด ในการประชุมครั้งต่อไป
๔.๔ ให้จังหวัดลพบุรีควบคุมการใช้ประโยชน์ในที่ดินให้เป็นตามประกาศผังเมืองรวม ที่ก าหนดให้บริเวณ
นี้เป็นพื้นที่สีเขียวเพื่อเกษตรกรรม และส่งเสริมให้เขาถ ้าเอราวัณเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของจังหวัดลพบุรี ภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้
99