Page 94 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 94

คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำารวจตามหลักสิทธิมนุษยชน




                           (๑)  เมื่อพนักงานสอบสวนรับคำาร้องทุกข์หรือกล่าวโทษ
          ให้ดำาเนินคดีกับแพทย์ผู้ตรวจรักษาแล้วเกิดความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย

          ของผู้เจ็บป่วยให้ดำาเนินการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิด
          เพื่อพิสูจน์ความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหา หากมีพยาน หลักฐาน
          เพียงพอและแน่ชัดให้พนักงานสอบสวนดำาเนินการตามกฎหมายต่อไป

                           (๒)  เมื่อรับคำาร้องทุกข์กล่าวโทษ ให้มีหนังสือแจ้งเหตุ
          โดยสรุปไปยังนายกแพทยสภา โดยขอทราบความเห็นใน ๒ ประเด็น
          เพื่อประกอบการสอบสวน คือ

                               (๒.๑)  ในการรักษาของแพทย์ถูกกล่าวหา
          ได้ทำาการรักษาผู้ป่วยตามมาตรฐานวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา
          หรือไม่

                               (๒.๒)  แพทย์ผู้ถูกกล่าวหาได้ใช้ความระมัดระวัง
          ในการตรวจวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยตามภาวะวิสัยและพฤติการณ์ของแพทย์

          ที่จะต้องทำาการรักษาพยาบาลในกรณีนี้หรือไม่
                           (๓)  ให้ส่งสำาเนาเวชระเบียนและบัตรประวัติผู้ป่วยนอก
          ของผู้ป่วยหรือผู้ตายไปยังนายกแพทยสภา สำานักงานปลัดกระทรวง
          สาธารณสุข

                           (๔)  กรณีต้องดำาเนินการสอบสวนแพทย์ผู้ถูกกล่าวหา
          และมีความจำาเป็นต้องจับกุมหรือควบคุมตัวแพทย์ ให้คำานึงถึง

          เกียรติยศศักดิ์ศรีของผู้ถูกกล่าวหา และให้ปฏิบัติโดยสุภาพ สะดวก
          รวดเร็ว ตามสมควร












                                        70
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99