Page 99 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 99

สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ




                                  (๓)  ถ้าไม่สามารถขอความช่วยเหลือจาก
            เจ้าพนักงานได้ทันท่วงที ก็ให้มีอำานาจจับผู้ต้องหาหรือจำาเลยได้เอง

            แล้วส่งไปยังพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำารวจที่ใกล้ที่สุด
                                  (๔)  และให้เจ้าพนักงานนั้นรีบจัดส่งผู้ต้องหา
            หรือจำาเลยไปยังเจ้าพนักงานหรือศาลโดยคิดค่าพาหนะจากบุคคลซึ่งทำา

            สัญญาประกันหรือเป็นหลักประกันนั้น


                             ๓.๗.๓  การจับของราษฎรโดยไม่มีหมายจับ

                             ราษฎรจะสามารถจับโดยไม่มีหมายได้ ด้วยเหตุดังต่อไปนี้
                                  (๑)  เจ้าพนักงานขอให้ช่วยจับ

                                  (๒)  จับผู้กระทำาความผิดซึ่งหน้าตามความผิด
            ที่ได้ระบุไว้ในบัญชีท้าย ป.วิ.อ.



                     ๓.๗.๔  เมื่อจับตัวผู้ต้องหาได้แล้ว

                             ๓.๗.๔.๑ การจับโดยเจ้าพนักงาน ณ สถานที่จับ
            ตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๘๓ และ ๘๔

                                  (๑)  ต้องแจ้งแก่ผู้ถูกจับว่า เขาต้องถูกจับ
                                  (๒)  ถ้ามีหมายจับให้แสดงหมายจับต่อผู้ถูกจับ

                                  (๓)  แจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกจับทราบ (ครั้งที่ ๑)

                                  (๔)  แจ้งสิทธิให้ผู้ถูกจับทราบว่า
                                       (๔.๑)  มีสิทธิที่จะให้การหรือไม่ให้การก็ได้

                                       (๔.๒)  ถ้าให้การถ้อยคำาที่ให้การนั้น อาจใช้
            เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้





                                          75
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104