Page 117 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 117
มนุษยชน สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ ซึ่ง เวียดนำม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย แม้ว่ำจะรับ
เอำมุมมองเรื่องสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นแนวคิดที่น ำเข้ำจำกตะวันตก แต่กำรน ำแนวคิดนี้มำใช้มีควำม
แตกต่ำงกันไปตำมบริบทของแต่ละประเทศด้วยเช่นกัน กฎหมำยที่สะท้อนฐำนคิดทำงสังคมและวัฒนธรรม
บำงส่วนย้อนแย้งกับกติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ที่ทั้ง ๓ รัฐ
ยินยอมให้จำรีตประเพณีมีอิทธิพล ควำมส ำคัญเหนือกว่ำสิทธิมนุษยชน สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ของ
ประชำชน
ด้วยเหตุนี้ แม้ว่ำ กฎหมำยของ ๓ ประเทศครอบคลุมถึงสิทธิ ได้แก่ สิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมี
ศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ (Right to Life) สิทธิในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำ (Right to
Information and Education) สิทธิในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด (Right to Decide
Whether or When to Have Children) และสิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Right to Health Care
and Health Protection) ทว่ำกฎหมำยของแต่ละประเทศถูกกรอบไว้ด้วยควำมคิดควำมเชื่อทำงศำสนำ
สังคมและวัฒนธรรม และมีอิทธิพลเหนืออนุสัญญำต่ำงๆ ท ำให้ท้ำยที่สุดสิทธิของผู้หญิง โดยเฉพำะอย่ำง
ยิ่งเยำวชนหญิงถูกจ ำกัด ซึ่งเป็นสิ่งที่เหมือนกันของทั้ง ๓ ประเทศคือ ยังไม่มีควำมชัดเจนเรื่องสิทธิอนำมัย
เจริญพันธุ์ว่ำเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน และไม่มีกฎหมำยอนำมัยเจริญพันธุ์ ซึ่งจะช่วยเติมเต็มกำร
เข้ำถึงสิทธิด้ำนต่ำงๆ ของเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม เพรำะอคติของทั้งประชำชนในสังคมและรัฐ
ที่ไม่ยอมรับกำรตั้งครรภ์ของเยำวชนหญิง ท ำให้ไม่ได้รับกำรคุ้มครองทำงกฎหมำย และกำรสนับสนุนทำง
สังคม ส่งผลให้เยำวชนหญิงเหล่ำนี้ไม่สำมำรถเข้ำถึงสิทธิในด้ำนต่ำงๆ ของตนได้อย่ำงเต็มที่ ซึ่งเมื่อ
เปรียบเทียบกับรัฐไทยแล้ว ไม่ได้แตกต่ำงกันมำกนัก แม้ว่ำจะมีวัฒนธรรมควำมเชื่อ ศำสนำ และจำรีตที่
แตกต่ำงกันก็ตำม
จำกกำรศึกษำกฎหมำยไทยและมำตรกำรของรัฐ พบว่ำ กระบวนกำรและพฤติกรรมต่ำงๆ ของกำร
ละเมิดสิทธิมนุษยชน สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ต่อเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ ล้วนเป็นผลมำจำกมำยำคติว่ำด้วย
กำรตั้งครรภ์ของเยำวชนเป็นควำมผิดพลำด เป็นกำร “ก้ำวพลำด” ของเยำวชนหญิง มำกกว่ำเป็นภำวะ
อนำมัยเจริญพันธุ์ และสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ของแต่ละปัจเจกบุคคล โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง สิทธิในกำร
ตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด กำรตั้งครรภ์ของเยำวชนในควำมหมำยส ำหรับรัฐและสังคมยัง
ถูกวำงในฐำนะผลลัพธ์ของปัญหำกำรขำดศีลธรรมของเยำวชน กำรขำดควำมรักควำมเอำใจใส่ของ
ครอบครัว กำรขำดกำรอบรมเลี้ยงดูอย่ำงดี และเสมือนกำรระบำดของโรค ที่กระทรวงสำธำรณสุขต้องเข้ำ
มำควบคุมดูแล และควำมเข้มงวดของสถำนศึกษำและกระทรวงศึกษำธิกำรในกำรป้ องกันกำรมี
เพศสัมพันธ์ของเยำวชน นักเรียนนักศึกษำ หรือที่พอจะยอมรับได้คือ มีเพศสัมพันธ์อย่ำงป้ องกัน
แม้กฎหมำยของรัฐไทยที่พยำยำมจะคุ้มครองสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์
แต่ไม่ได้ให้หรือคุ้มครองสิทธิและเสรีภำพในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด ทั้ง พ.ร.บ.
ต่ำงๆ และที่เกี่ยวข้องกับเยำวชน ไม่ได้เกี่ยวข้องกับอนำมัยเจริญพันธุ์อย่ำงชัดเจน ล้วนมองข้ำมเรื่องสิทธิใน
๑๑๖