Page 116 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 116
บทที่ ๔ บทสรุปและข้อเสนอแนะ
๔.๑ สรุปผลการศึกษา
จำกกำรศึกษำวิจัยปรำกฏกำรณ์เยำวชนหญิงตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม ถือว่ำเป็นปัญหำส ำคัญที่
เกิดขึ้นในสังคม โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ปัญหำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ในเยำวชนหญิง
ตั้งครรภ์ ที่น ำไปสู่กำรตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม ไม่ใช่ปัญหำควำมไร้ระเบียบ ไร้ศีลธรรมของสังคม และกำรน ำไปสู่
ควำมด้อยคุณภำพของประชำกรตำมที่รัฐและสังคมเชื่อ ซึ่งปัญหำดังกล่ำวไม่เพียงเป็นปัญหำที่เกิดขึ้นโดย
โครงสร้ำงสังคมเอง แต่ยังเกิดขึ้นจำกกระบวนทัศน์และส ำนึกของรัฐ ทว่ำปัญหำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน
ในเยำวชนหญิงตั้งครรภ์กลับถูกมองข้ำมและไม่ได้รับกำรแก้ไขปัญหำ เนื่องจำกรัฐมองว่ำปรำกฏกำรณ์กำร
ตั้งครรภ์ของเยำวชนหญิง เป็นปัญหำที่รุนแรงและต้องแก้ไขโดยเร่งด่วนมำกกว่ำกำรแก้ไขปัญหำกำรถูก
ละเมิดสิทธิของเยำวชนกลุ่มดังกล่ำว
ทั้งนี้ เนื่องมำจำกรัฐและสังคมภำยในรัฐส่วนใหญ่ยังคงยึดกรอบวำทกรรมหลักเรื่องจำรีตประเพณี
ควำมเชื่อ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมประจ ำรัฐและสังคมนั้นๆ มำกกว่ำสิทธิมนุษยชนและสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์
ซึ่งเป็นกระบวนทัศน์สำกล เห็นได้จำกกำรก ำหนดบทกฎหมำยต่ำงๆ ของแต่ละรัฐโดยอำศัยวัฒนธรรม
ควำมเชื่อและจำรีตประจ ำรัฐมำเป็นกรอบ แทนกำรน ำปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน, กติกำระหว่ำง
ประเทศว่ำด้วยสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม, อนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรี
ในทุกรูปแบบ, อนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิเด็ก, แผนปฏิบัติกำรประชำกรและกำรพัฒนำ และแผนปฏิบัติเพื่อ
ควำมก้ำวหน้ำของสตรี มำเป็นกรอบในกำรบัญญัติกฎหมำยและบังคับใช้ ซึ่งน ำไปสู่กำรไม่คุ้มครองสิทธิ
มนุษยชน สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์
ในประเด็นกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนในเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ นอกเหนือจำกกำรกระท ำควำม
รุนแรง ท ำร้ำยร่ำงกำย ท ำให้ตกอยู่ในอันตรำย บังคับขู่เข็ญ ประณำม ท ำให้อับอำยซึ่งเป็นควำมรุนแรงและ
กำรละเมิดสิทธิมนุษยชนของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นในระดับปัจเจกแล้ว จำกกำรศึกษำวิจัยในครั้งนี้
ตั้งข้อสังเกตว่ำ ควำมรุนแรงเชิงโครงสร้ำงยังเป็นอีกควำมรุนแรงหนึ่งที่เกิดขึ้นกับเยำวชนหญิงตั้งครรภ์
ได้แก่ กำรมองข้ำมสิทธิต่ำงๆ ที่เยำวชนและเยำวชนหญิงตั้งครรภ์พึงได้รับ
๔.๑.๑ ด้านกฎหมาย
จำกกำรศึกษำ กำรละเมิดสิทธิมนุษยชนและควำมรุนแรงเชิงโครงสร้ำงต่อเยำวชนหญิงตั้งครรภ์
โดยไม่พร้อม พบว่ำมำจำกวัฒนธรรมของแต่ละสังคมและรัฐ ซึ่งถูกสะท้อนอย่ำงชัดเจนผ่ำนกฎหมำยของ
รัฐนั้นๆ ซึ่งจำกกำรศึกษำในครั้งนี้ ได้มุ่งศึกษำถึงกฎหมำย ๔ รัฐในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่
เวียดนำม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และไทย ซึ่งทั้ง ๔ รัฐมีวัฒนธรรมที่แตกต่ำงกันอย่ำงชัดเจน โดยเฉพำะใน
เรื่องควำมเชื่อและจำรีต ซึ่งต่ำงเป็นปัจจัยส ำคัญในกำรก ำหนดลักษณะของกฎหมำยที่มีอิทธิพลต่อสิทธิ
๑๑๕