Page 118 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 118
กำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด มำกไปกว่ำนั้นกฎหมำยอำญำที่เกี่ยวข้องกับกำรยุติกำร
ตั้งครรภ์ที่ถือว่ำเป็นอีกสิทธิหนึ่งของอนำมัยเจริญพันธุ์ยังจัดให้เป็นอำชญำกรรมประเภทหนึ่ง แม้ว่ำ
กฎหมำยจะมีช่องว่ำงให้ตีควำมเพื่อให้กำรท ำแท้งสำมำรถท ำได้อย่ำงถูกกฎหมำย เช่น ผู้ที่จะท ำแท้งยุติกำร
ตั้งครรภ์ได้ จะต้องอยู่บนเงื่อนไขที่กำรตั้งครรภ์นั้นเกิดจำกกำรถูกข่มขืนกระท ำช ำเรำ กำรตั้งครรภ์ส่งผลเสีย
ต่อสุขภำพร่ำงกำยและจิตใจอย่ำงรุนแรง หรือในกรณีที่ผู้หญิงนั้นอำยุต ่ำกว่ำ ๑๕ ปี อย่ำงไรก็ตำมในทำง
ปฏิบัติ พบว่ำสร้ำงปัญหำต่อเยำวชนหญิงตั้งครรภ์อย่ำงมำก เพรำะกำรตีควำมในกำรให้บริกำรยุติกำร
ตั้งครรภ์อยู่ที่แพทย์ ผู้ให้บริกำรเป็นหลัก ซึ่งไม่ใช่เจ้ำของครรภ์เอง และส่วนใหญ่มักปฎิเสธที่จะให้บริกำร
(องค์กรแพธ และ ส ำนักบริหำรกำรสำธำรณสุข กระทรวงศึกษำธิกำร, ๒๕๕๕)
รวมทั้ง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก (๒๕๔๖) ในมาตรา ๒๒ ระบุว่ำ “การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใด ให้
ค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นส าคัญและไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม...” ก็ไม่ได้ให้
ควำมส ำคัญกับกำรตั้งครรภ์ของเยำวชน ทั้งกำรด ำรงครรภ์หรือยุติครรภ์ แม้ว่ำ “เด็ก” ตำม พ.ร.บ. ส่งเสริม
กำรพัฒนำเด็กและเยำวชนแห่งชำติ (๒๕๕๐) หมำยถึงบุคคลซึ่งมีอำยุต ่ำกว่ำ ๑๘ ปีบริบูรณ์ ซึ่งอยู่ในวัย
เจริญพันธุ์แล้วก็ตำม สะท้อนให้เห็นว่ำรัฐไทยยังคงแยกเด็กและเยำวชนออกจำกเรื่องกำรเจริญพันธุ์
อนำมัยเจริญพันธุ์ รวมทั้งสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์
ดังนั้นแม้รัฐไทยจะคุ้มครองสิทธิของเยำวชน สิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์
(Rights to Life), สิทธิในควำมเป็นส่วนตัว (Rights to Privacy), สิทธิในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรและ
กำรศึกษำ (Rights to Information and Education), สิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Rights to
Health Care and Health Protection) อย่ำงเสมอภำคโดยไม่ค ำนึงว่ำเยำวชนผู้นั้นตั้งครรภ์หรือไม่ก็ตำม
แต่ไม่ได้หมำยควำมว่ำกฎหมำยรัฐไทยจะเปิดโอกำสและคุ้มครองสิทธิในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่
และจะมีเมื่อใด (Rights to Decide Whether or When to Have Children or Rights to Self-
determination) โดยเฉพำะสิทธิในกำรยุติกำรตั้งครรภ์
ดังนั้นจ ำเป็นอย่ำงยิ่งที่รัฐไทยควรอนุญำตให้ผู้หญิง เยำวชนหญิงมีสิทธิในกำรยุติกำรตั้งครรภ์ใน
ฐำนะที่เป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐำนและสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ แม้ว่ำกฎหมำยอำญำมำตรำ ๓๐๑-๓๐๕
ที่ถือว่ำกำรท ำแท้งเป็นอำชญำกรรม สอดคล้องกับกรอบศีลธรรมส่วนใหญ่ของประชำชนในรัฐ ที่กำรฆ่ำ
กำรท ำลำยชีวิตเป็นสิ่งผิดบำป เป็นควำมรุนแรงโหดร้ำยก็ตำม ทว่ำรัฐไทยได้เข้ำเป็นภำคีกติกำระหว่ำง
ประเทศว่ำด้วยสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมเมื่อ ๕ กันยำยน ๒๕๔๒ และมีผลใช้บังคับ ๕
ธันวำคม ๒๕๔๒ ที่ภำค ๒ ข้อ ๕ ระบุห้ำมกำรจ ำกัดหรือลิดรอนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐำนที่ได้รับกำรรับรอง
หรือที่มีอยู่ในประเทศใด โดยอำศัยอ ำนำจของจำรีตประเพณี (กติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิทำง
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม, ๒๕๕๕) ในกำรศึกษำกฎหมำยไทยที่มีต่อสิทธิมนุษยชนของเยำวชนหญิง
ตั้งครรภ์ครั้งนี้ จึงได้มีข้อเสนอแนะต่อกำรปรับแก้กฎหมำยในเชิงโครงสร้ำงคือ รัฐไทยจ ำเป็นอย่ำงยิ่งที่
๑๑๗