Page 26 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 26

1. กลุมผูเขาเมืองถูกกฏหมาย เปนกลุมที่มีเอกสารที่รัฐบาลรับรอง ไดแก หนังสือเดินทาง(Passport)
                   จากประเทศตน มีการตรวจลงตรา(Visa) โดยสถานฑูตหรือกงสุลไทยประจำประเทศนั้น และมีการ

                   ประทับตราใหอยูในราชอาณาจักรประเภทอยูชั่วคราว โดยสำนักงานตรวจคนเขาเมือง และไดรับ
                   ใบอนุญาตทำงาน(Work Permit) สำหรับกลุมที่เขามาเพื่อการทำงาน ซึ่งจำแนกไดเปน  2 กลุม ไดแก
                      1.1 กลุมที่เขามาตามบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการจางแรงงาน(Memorandum of

                            Understanding on Cooperation in the Employment of Worker - MOU) คือ พมา ลาว กัมพูชา
                      1.2 กลุมที่ผานการพิสูจนสัญชาติ เปนกลุมที่หลบหนีเขาเมืองที่ไดรับอนุญาตใหอาศัยอยู และ

                            ทำงานตามมติคณะรัฐมนตรีมากอน แตผานการพิสูจนสัญชาติจากรัฐบาลประเทศของตน
                          ซึ่งจะไดรับเอกสารตางๆ ตามขางตน และไดรับอนุญาตใหอยูทำงานไดชั่วคราวกำหนด 2 ป
               2. กลุมหลบหนีเขาเมือง เปนกลุมที่ลักลอบเขามาจึงไมมีเอกสารรับรองจากรัฐบาลประเทศตนทาง

                   โดยจำแนกไดเปน  2 กลุมยอย คือ
                      2.1 กลุมที่ขึ้นทะเบียนตามมติคณะรัฐมนตรี และไดรับการผอนผันใหอยูและทำงานใน

                            ประเทศไทยเปนรายป เปนแรงงานสัญชาติพมา ลาว กัมพูชา อยางไรก็ตามมติคณะรัฐมนตรี
                            วันที่ 18 ธันวาคม 2550 ผอนผันใหคนกลุมนี้อาศัยอยูและทำงานในประเทศไทยไดนาน
                            2 ป ไมเกินวันที่ 28 กุมภาพันธ 2553 แบงไดเปนอีก 3 กลุมยอย ดังนี้

                              • กลุมที่ใบอนุญาตทำงานสิ้นสุดวันที่  28 กุมภาพันธ
                              • กลุมที่ใบอนุญาตทำงานสิ้นสุดวันที่  30 มิถุนายน

                              • กลุมที่จดทะเบียนในเขตพัฒนาพิเศษ  5 จังหวัดชายแดนภาคใต
                      2.2 กลุมที่ไมขึ้นทะเบียน(ไมมีเอกสารใดๆ) และลักลอบทำงานโดยไมไดรับอนุญาต ซึ่งมักเรียก
                            กันวา “แรงงานขามชาติผิดกฏหมาย”

                      2.3 กลุมคนไรรัฐ เชน กลุมชาติพันธุบนพื้นที่สูง ซึ่งสวนใหญเกิดในประเทศไทยแตตกสำรวจ
                          กลุมที่เดินทางเขามาอยูในประเทศไทยตั้งแตกอนป 2528 และอยูระหวางรอการใหสัญชาติไทย

                           รวมทั้งกลุมลี้ภัยทางการเมือง ที่อยูนอกคาย และกลุมแรงงานขามชาติจาก 3 ประเทศ
                          (ลาว พมา กัมพูชา) ที่ไมผานการพิสูจนสัญชาติ(เปนบุคคลใดๆ ก็ตามซึ่งโดยทางกฎหมาย
                           ไมมีรัฐใดยอมรับวาเปนคนชาติของตน) โดยคนกลุมนี้จำนวนหนึ่งไดขึ้นทะเบียนตามมติ

                             คณะ รัฐมนตรีวาตนเปนคนสัญชาติพมา ลาว หรือกัมพูชา เพื่อไปขอใบอนุญาตทำงานซึ่งเมื่อหมด
                           ระยะผอนผัน การใหทำงานในประเทศไทยคนกลุมนี้จะกลายเปนคนไมมีสถานะ กลาวคือ

                           ไมสามารถกลับไปเปนสถานะคนไรรัฐเพื่อรอการพิสูจนสัญชาติ ซึ่งหากถูกจับจะตองถูกสงกลับ
                            ประเทศตามที่แจงสัญชาติไว แตจะกลับไปที่ใดเพราะไมใชคนใน 3 ประเทศขางตน






                 10     บทที่ 1 การยายถิ่นของแรงงานขามชาติิ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31