Page 22 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 22

- สถานะทางกฎหมายของแรงงานขามชาติกลุมตางๆ
                      - สิทธิในการเดินทางเมื่อเขามาอยูในประเทศไทย
                      - นโยบายและสถานการณการจัดระบบแรงงานขามชาติ
                      - พระราชบัญญัติ และกฏหมายที่เกี่ยวของ
                   (ทั้งนี้ผูดำเนินการอาจเชิญวิทยากรผูเชี่วยชาญ ที่มีความรูเรื่องการยายถิ่น การจัดระบบแรงงานขามชาติ และ
               กฏหมายที่เกี่ยวของ เชน ผูแทนจากกระทรวงแรงงานมาใหความรูที่ถูกตอง)
               2. จากนั้นผูดำเนินการแนะนำวัตถุประสงคกิจกรรม 1.2.1
               3. ใหผูเขารวมอบรมแบงกลุม ๆ ละ 5-6 คน  และแจกกรณีศึกษาใหแตละกลุม
               4. ใหแตละกลุมอานและวิเคราะหกรณีศึกษาตามคำถามใตกรณีศึกษาโดยใชบัตรคำ และตอบคำถามตาม
                   ที่ระบุไว ดังตอไปนี้นี้(ใหเวลา 15 นาที)
                      a. สาเหตุที่แรงงานขามชาติตองเดินทางเขามาทำงานในประเทศไทย
                      b. วิธีการและชองทางการเดินทางเขาสูประเทศไทยของแรงงานขามชาติ
                      c. มีชองทางการเดินทางใดอีกของแรงงานจากประเทศ ตามกรณีศึกษาที่จะเขามาสูประเทศไทยได
                      d. แรงงานขามชาติตองเผชิญกับอะไรบางในการเขามาทำงานในประเทศไทย
               5. ใหแตละกลุมเสนอผลการวิเคราะห กลุมละ 5 นาที โดยระหวางการนำเสนอ ผูดำเนินการ/ผูชวยบันทึกผล
                   การวิเคราะหลงบนกระดาษฟลิปชารตในประเด็นตางๆ
               6. ผูดำเนินการนำแลกเปลี่ยนเพิ่มเติมในกลุมใหญ สรุปเชื่อมโยงใหเห็นถึงปญหาที่เกิดขึ้นกับแรงงาน
                   ที่เดินทางเขา มาทำงานในประเทศไทยกับสิทธิที่เกี่ยวของ เพื่อนำเขาสูบทตอไป ในเรื่องสิทธิมนุษยชน
                   สิทธิแรงงาน สิทธิสุขภาพ และสิทธิในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม
               ใบงานกิจกรรม


               ใบงานที่ 1.2.1 รูจักแรงงานขามชาติ
               กรณีศึกษาที่ 1: ซูน
                      ซูน หนุมชาวพมา ชาวเมืองเมาะลำใย กำพราพอ อาศัยอยูกับแมและนองๆ อีก 4 คน โดยการชวย
               แมทำนา และรับจางทั่วไป แตก็มีรายไดไมเพียงพอเลี้ยงครอบครัว อีกทั้งเกิดภัยแลงอยางรุนแรง ซูนจึงตัดสิน
               ใจมาทำงานเมืองไทยตามคำชักชวนของนายหนา ดวยมีความหวังวาจะมีเงินสงมาใหครอบครัวและมีเงินเก็บ
               เพื่อแตงงานกับแฟนสาว ตามคำบอกเลาของนายหนาที่บอกวาเมืองไทยเปนเมืองที่หาเงินงาย มีงานใหทำและ
               เปนเมืองที่มีคนพมาเขามาทำงานเยอะไมตองกลัววาจะมาอยูคนเดียวและที่ผานมาคนพมาที่เขามาเมืองไทย
               ผานบริษัทของเขามีงาน และมีเงินสงกลับบานกันทุกคน ซูนเดินทางเทาเขามาเมืองไทยทางดานอำเภอแมสอด
               จังหวัดตาก พรอมเพื่อนชาวพมาอีกจำนวนหนึ่งเมื่อกลาง ป 2546 เมื่อมาถึงประเทศไทยซูนและเพื่อนอีก 5-6 คน
               ถูกสงตัวไปทำงานเปนลูกเรืออวนลากที่จังหวัดตรังผิดจากคำที่นายหนาบอกวาจะใหทำงานโรงงาน ซึ่งตน
               และเพื่อนๆ  ตองจำยอมเพราะไมทราบวาจะไปไหนไมรูจักใคร  โดยเมื่อเริ่มงานไตกงบอกวาจะจายคาจางให
               เมื่อเรือกลับเขาฝงแลว ทั้งนี้คาจางขึ้นอยูกับทักษะ และการทำงานมากนอยของแตละคนการทำงานบนเรือ
               เปนงานที่หนักมาก ทำตั้งแตแปดโมงเชาถึงตีสองของอีกวัน และหากทำงานไมถูกใจก็จะถูกไตกงหรือแรงงาน
               คนไทยที่เปนผูชวยไตกงทุบตี คนงานหลายคนรางกายออนแอลงเรื่อยๆ เพราะทั้งทำงานหนัก และกินไมอิ่ม
               เมื่อเจ็บปวยก็ไดแตกินยาที่ซื้อไวกอนเรือออกจากฝง ระหวางนั้นซูนรูสึกอยากกลับบานคิดถึงครอบครัว และ
               แฟนสาวมากคิดวาตนจะทำงานเพื่อใชหนี้คานายหนาแลว



                  6     บทที่ 1 การยายถิ่นของแรงงานขามชาติิ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27