Page 30 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 30

1. การทำบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการจางแรงงาน(MOU) กับประเทศ
                          เพื่อนบานทั้งพมา ลาว และกัมพูชา เพื่อนำเขาแรงงานอยางถูกกฎหมายโดยเปนกลุมใหมที่
                          นำเขามาจากประเทศตนทาง ซึ่งจะชวยลดปญหาแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองระหวางไทย
                          กับประเทศเพื่อนบาน โดยใหมีระบบการจางงานที่ถูกตอง การผลักดันกลับกลุมที่ลักลอก
                          เขามา การปองกันและปราบปรามการขามแดนผิดกฎหมาย และการคาแรงงานเถื่อน
                          (ตามภาพ 1.2)

                      2. การใหดำเนินการพิสูจนสัญชาติแรงงานขามชาติหลบหนีเขาเมืองสัญชาติพมา ลาวและกัมพูชา
                          เพื่อเปลี่ยนสถานภาพเปนบุคคลเขาเมืองถูกตองตามกฏหมาย (มีหนังสือเดินทาง และตรวจ
                          ลงตราวีซา) ซึ่งสามารถอาศัยและทำงานในประเทศไทยไดนาน  2 ป
                      3. การเปดจดทะเบียนแรงงานขามชาติหลบหนีเขาเมือง และจดทะเบียนผอนผันตามมติคณะ
                          รัฐมนตรี โดยใหแรงงานขามชาติและผูติดตามมาจดทะเบียนตามมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งแนว
                          นโยบายจะเปลี่ยนแปลงไปในแตละปดังนี้



                      ป                              การดำเนินนโยบาย

                               -  เริ่มจัดระบบโดยมติคณะรัฐมนตรี
                  2539 - 2543
                               -  จดทะเบียนและผอนผันใหทำงานไดในบางพื้นที่เฉพาะกิจการที่กำหนด
                               -  ตั้งคณะกรรมการบริหารแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง (กบร.)
                     2544
                               -  เปดใหแรงงานขามชาติมารายงานตัว (568,249 คน)
                               -  ผอนผันใหอยูตออีก 1 ป (เหลือ 409,339 คน)
                     2545      -  ทำ MOU กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (18 ตุลาคม 2545)

                               -  ทำ MOU กับราชอาณาจักรกัมพูชา (31 พฤษภาคม 2546)
                     2546
                               -  ทำ MOU กับประเทศพมา  (21 มิถุนายน 2546)
                               -  จดทะเบียนแรงงานขามชาติและออกเลข 13 หลัก (ทร.38/1)  จำนวน 1,184,920 คน
                     2547      -  ออกใบอนุญาตทำงาน จำนวน 838,943 คน
                               -  เริ่มมีการพิสูจนสัญชาติชาวลาว
                     2548      -  ผอนผันใหอยูตออีก 1 ป  (705,293 คน)
                      ป                              การดำเนินนโยบาย
                               - ผอนผันใหอยูตออีก 1 ป  โดยใหนายจางประกันตัวลูกจางตางดาว  10,000 บาท (มี ทร.38/1)และ 50,000 บาท
                     2549
                                 (ไมมี ทร.38/1) และใหยกเลิกการประกันตัวในเวลาตอมา ซึ่งมีผูมา จดทะเบียนเหลือเพียง 208,562 คน
                               - ผอนผันใหอยูตออีก 1 ป (535,732)
                               - เปดจดทะเบียนแรงงานขามชาติทั้งที่มี ทร.38/1 และไมมี ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต (ยะลา ปตตานี นราธิวาส
                     2550        และสตูล) และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา (จะนะ นาทวี สะบายอย และเทพา)
                               - ยุติการอนุญาตใหผูติดตามอยูในประเทศไทย ยกเวนบุตรที่เปนผูติดตามที่จดทะเบียนใน ป 2547 และไดรับ
                                 ใบอนุญาตทำงานอยางตอเนื่องจนถึงป 2550
                               - เปดใหกลุมที่เคยมี ทร.38/1 (จดทะเบียนป 2547) แตไมเคยมีใบอนุญาตทำงานหรือไมไดมาตออายุใบอนุญาต
                     2551        ทำงาน ใหมารายงานตัวและขอใบอนุญาตทำงาน นอกจากนี้ ยังอนุญาตใหกลุมที่ใบอนุญาตหมดอายุทั้ง
                                 สามกลุม ไดแก กลุมใบอนุญาตหมดอายุวันที่ 28 กุมภาพันธ 2551 14 มีนาคม 2551 และ 30 มิถุนายน



                 14     บทที่ 1 การยายถิ่นของแรงงานขามชาติิ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35