Page 25 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 25
กระบวนการ
1. ผูดำเนินการใหนิยามความหมายของแรงงานขามชาติตามหลักสูตร และใหความรูตามประเด็นดังตอไปนี้
(60 นาที)
- สถานะทางกฎหมายของแรงงานขามชาติกลุมตาง ๆ
- สิทธิในการเดินทางเมื่อเขามาอยูในประเทศไทย
- นโยบายและสถานการณการจัดระบบแรงงานขามชาติ
- พระราชบัญญัติ และกฏหมายที่เกี่ยวของ
(ทั้งนี้ผูดำเนินการอาจเชิญวิทยากรผูเชี่วยชาญที่มีความรูเรื่องการยายถิ่นการจัดระบบแรงงานขามชาติ
และกฏหมายที่เกี่ยวของ เชน ผูแทนจากกระทรวงแรงงานมาใหความรูที่ถูกตอง)
2. จากนั้นผูดำเนินการแนะนำวัตถุประสงคกิจกรรม 1.2.2
3. ใหผูเขารวมอบรมแบงกลุมๆ ละ 5-6 คน(3 กลุม)
4. ผูชวยดำเนินการแจกแผนที่ประเทศไทย-อนุภาคลุมแมน้ำโขง โดยแตละกลุมจะไดแผนที่ประเทศไทย
กลุมละ 1 ชุด
5. ใหกลุมระดมความคิดตามประเด็น ดังตอไปนี้
a. สาเหตุที่แรงงานขามชาติตองเดินทางเขามาทำงานในประเทศไทย
b. ชองทางการเขามาของ แรงงานพมา กัมพูชา ลาว สูประเทศไทย โดยใชแผนที่ประกอบเพื่อระบุ
- ชื่อชองทาง
- ชื่อจังหวัดฝงประเทศตนทาง
- ชื่อจังหวัดในประเทศไทย
c. แรงงานขามชาติตองเผชิญกับอะไรบางในการเขามาทำงานในประเทศไทย
6. ใหแตละกลุมเสนอผลการวิเคราะห กลุมละ 5 นาที โดยระหวางการนำเสนอ ผูดำเนินการ/ผูชวยบันทึกผล
การวิเคราะหลงบนกระดาษฟลิปชารตในประเด็นตางๆ
7. ผูดำเนินการนำแลกเปลี่ยนเพิ่มเติมในกลุมใหญ สรุปเชื่อมโยงใหเห็นถึงปญหาที่เกิดขึ้นกับแรงงานที่
เดินทางเขามาทำงานในประเทศไทยกับสิทธิที่เกี่ยวของ เพื่อนำเขาสูบทตอไปในเรื่องสิทธิมนุษยชน
สิทธิแรงงาน สิทธิสุขภาพ และสิทธิในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม
แนวทางการสรุป
เชนเดียวกับ กิจกรรม 1.2.1
เนื้อหาประกอบสำหรับวิทยากรและผูเขารวมอบรม
นิยามแรงงานขามชาติ
“แรงงานขามชาติ” ในหลักสูตรฉบับนี้ หมายถึง แรงงาน และผูติดตามจาก 3 ประเทศ ไดแก ลาว
พมา และกัมพูชา โดยจำแนกไดเปน 2 กลุมใหญๆ ตามลักษณะการเขาเมือง(พระราชบัญญัติคน
เขาเมือง พ.ศ.2522) ไดแก
บทที่ 1 การยายถิ่นของแรงงานขามชาติ 9