Page 29 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 29

ดานเจดียสามองค จังหวัดกาญจนบุรี              เมืองทวาย
                                เมืองทวาย และอำเภอเมือง จังหวัดระนอง             เกาะสอง

                                อำเภอทาลี่ จังหวัดเลย                      เมืองแกนทาว จังหวัดไชยะบุลี

                                อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนาน               เมืองเงิน จังหวัดไชยะบุลี

                    ชายแดน      อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย                   เมืองหาดทรายฟอง นครหลวงเวียงจันทน
                    ไทย - ลาว   อำเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย                  เมืองปากซัน จังหวัดบอลิคำไซ

                                อำเภอทาอุเทน จังหวัดมุกดาหาร                เมืองหินบูน
                                อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร                  เมืองคันทะบุรี จังหวัดสะหวันนะเขต

                                ดานชองเม็ก อำเภอสินธร จังหวัดอุบลราชธานี             เมืองจำปาสัก
                                ดานชอมจอม จังหวัดสุรินทร                 อ.สำโรง จังหวัดอุดรมีชัย

                     ชายแดน     ดานบานคลองลึก (ตลาดโรงเกลือ)              ปอยเปต อำเภอโอโจรว
                   ไทย - กัมพูชา  อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว              จังหวัดบันเตียเมียนเจย

                                อำเภโปงนารอน และอำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี         จังหวัดพระตะบอง

                                ดานบานหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ จังหวัดตราด            อำเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง


                  ที่มา : การสรางความตระหนักในการคุมครองสิทธิแรงงานตางดาว” โดย องคกรระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน, หนา 4 และ รางแนวทาง
                  ประโยชนของแรงงานขามชาติตอประเทศไทย และประเทศตนทาง
                         ขอมูลจากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแหงชาติหรือทีดีอารไอ ประมาณการไววา แรงงานขามชาติ
                  มีสวนชวยใหผลผลิตมวลรวมประชาชาติของประเทศไทยเพิ่มขึ้นรอยละ 1.25 หรือ 2 พันลานเหรียญสหรัฐฯ

                  ในป  2548  (จากงานวิจัยเรื่อง  “คุณูปการทางเศรษฐกิจของแรงงานขามชาติตอประเทศไทย”  โดยฟลิป
                  มารติน หนา x) ในขณะเดียวกันประเทศตนทางก็ไดรับประโยชนจากการสงกลับของรายไดแรงงานขามชาติ
                  ที่เขามาทำงานในประเทศไทย  ซึ่งไมมีขอมูลจำนวนรายได  แตหากดูประมาณการรายไดจากการสงเงิน
                  กลับประเทศของแรงงานไทยที่ไปทำงานตางประเทศ ซึ่งมากกวา 4,500 ลานบาท ในป 2549 และกวา
                  3,500  ลานบาท  ในป  2550  อาจเปนภาพสะทอนประโยชนของแรงงานขามชาติตอประเทศตนทางได

                  นโยบายการจัดระบบแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองสัญชาติพมา ลาว และกัมพูชา

                         รัฐบาลมีความพยายามในการนำแรงงานขามชาติหลบหนีเขาเมืองสัญชาติพมา ลาว และกัมพูชา
                  เขาสูระบบ และปองกันการลักลอบเขามาของแรงงานกลุมใหม โดยในป 2544 มีการจัดตั้งคณะกรรม
                  การบริหารแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมือง (กบร.) เพื่อทำหนาที่วางนโยบาย และจัดระบบแรงงานกลุมนี้
                  ทั้งนี้เพื่อใหแรงงานขามชาติมีสถานะการอาศัยและทำงานในประเทศไทยอยางถูกกฎหมาย งายตอการ
                  ตรวจสอบการเดินทางเขา-ออก และติดตามหากมีปญหาใดๆ เกิดขึ้น ซึ่งมีนโยบายหลักๆ ดังนี้



                                                                               บทที่ 1 การยายถิ่นของแรงงานขามชาติ  13
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34