Page 29 - รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก
P. 29
ต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก 3
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
จำานวน ๑๘ รายการ มาใช้นั้น ก่อให้เกิดข้อเรียกร้องอื่นๆ ตามมา ดังนี้
๑) ขอให้ทบทวนประก�ศเดิมและจัดทำ�ประก�ศใหม่ เนื่องจาก
ประเภทโครงการหรือกิจการที่เข้าข่ายก่อผลกระทบรุนแรงตาม
มาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ ควรมีลักษณะที่สอดคล้อง
กับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญอย่างแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เจตนารมณ์ในเรื่องการปกป้องคุ้มครองสิทธิชุมชนและฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติ ผู้ร้องเรียนจึงขอให้คณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติเสนอแนะไปยังรัฐบาล ให้ทบทวนและจัดทำา
ประกาศกำาหนดประเภทโครงการหรือกิจการดังกล่าวเสียใหม่
๒) ขอให้ตรวจสอบก�รดำ�เนินก�รของรัฐบ�ล หลังจ�กได้รับ
ข้อเสนอแล้ว กรณีรัฐบาลรับข้อเสนอของคณะกรรมการแก้ไข
ปัญหาการปฏิบัติ ตามมาตรา ๖๗ วรรคสอง ในการกำาหนด
ประเภทโครงการหรือกิจการ ๑๘ รายการ แต่รัฐบาลกลับไม่นำา
ข้อเสนอดังกล่าวไปใช้ นอกจากนี้ รัฐบาลได้เคยรับข้อเสนอของ
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและคณะกรรมการ
สุขภาพแห่งชาติในการแก้ไขปัญหาผู้ได้รับผลกระทบจากการ
พัฒนาอุตสาหกรรมที่มาบตาพุดและจังหวัดระยองก่อนหน้านี้แล้ว
เช่นกัน ผู้ร้องเรียนจึงขอให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ติดตามการแก้ไขปัญหาดังกล่าวของรัฐบาลว่ามีผลคืบหน้าอย่างไร
สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาในสภาพความเป็นจริงหรือไม่ และ
ผลการติดตามเป็นอย่างไร
๑.๒.๒ การละเลยของรัฐบาลในการกำากับดูแลและเอื้ออำานวยต่อการดำารงชีพอยู่อย่าง
ปลอดภัย ทั้งในด้านคุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชน
ตามหนังสือร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออกต่อคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับลงวันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓ ปรากฏ “ประเด็นหลัก” ของข้อร้องเรียน คือ
รัฐบาลต้องปฏิบัติหน้าที่ในการกำากับดูแลและเอื้ออำานวยต่อการดำารงชีพอยู่อย่างปลอดภัย ทั้งในด้าน
คุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชน แต่จากผลการศึกษาของนักวิชาการ และข้อมูลของส่วนราชการ
ที่เกี่ยวข้อง ปรากฏชัดถึงปัญหาและผลกระทบด้านสุขภาพของประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิด
จากโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุด การที่รัฐบาลมิได้พิจารณาแก้ไขปัญหาโดยทันที อาจนำาไป
สู่โศกนาฏกรรมทางสุขภาพครั้งใหญ่ของประชาชนในพื้นที่