Page 337 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 337
ภาคผนวก
กระบวนการตรวจสอบกรณีร้องเรียนของ กสม.
รับเรื่องร้องเรียน กรรมการฯ
หยิบยกขึ้นพิจารณา
ส่งเรื่องให้องค์กรที่มีอำนาจหน้าที่พิจารณา
หากไม่ดำเนินการหรือไม่รับเรื่อง
คณะกรรมการฯ อาจนำเรื่องกลับมาพิจารณา หากเรื่องนั้นอยู่ในอำนาจ
คณะกรรมการ ฯ ไม่มีมูลหรืออยู่นอกอำนาจหน้าที่แจ้งผู้ร้อง
พิจารณาเบื้องต้น และอาจแจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบให้แก้ไข
มีมูลและอยู่ในอำนาจหน้าที่มอบหมายคณะอนุกรรมการ ฯ
เพื่อแจ้งบุคคล หน่วยงานที่ถูกกล่าวหา
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายชี้แจ้งรายละเอียด และ
เสนอพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง/ ดำเนินการไกล่เกลี่ยในกรณีที่เห็นว่าไกล่เกลี่ยได้ในกรอบสิทธิมนุษยชน
และทำบันทึกระหว่างคู่กรณี
การตรวจสอบพื้นที่
คณะกรรมการ ฯ มีมติ ถ้าไม่เป็นไปตามข้อตกลง
นำมาตรวจสอบใหม่
มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ไม่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
คณะกรรมการฯ จะทำรายงาน และเสนอมาตราการ แต่เป็นการปฎิบัติที่ไม่เป็นธรรม
แก้ไขปัญหาให้หน่วยงานหรือบุคคลที่มีอำนาจหน้าที่ คณะกรรมการฯ อาจกำหนดแนวทางแก้ไข และแจ้ง
นำไปปฎิบัติภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้บุคคลหรือหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการ
หากไม่มีการแก้ไข รายงาน
นายกรัฐมนตรีเพื่อสั่งการภายใน ๖๐ วัน
หากยังคงไม่มีการดำเนินการตามที่เสนอ
ราบงานต่อรัฐสภาเพื่อดำเนินการต่อไป
และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๓๓๗
Master 2 anu .indd 337 7/28/08 9:23:58 PM