Page 91 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 91
เมื่อครบก าหนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ส านักงานขอทราบผลการด าเนินการ แล้วเสนอ ข้อ ๒๓ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบค าร้องได้รับมอบหมายแล้ว ให้ด าเนินการตรวจสอบ
คณะกรรมการพิจารณา ดังนี้ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงตามมาตรา ๓๕ ให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับมอบหมาย
(๑) กรณีหน่วยงานหรือองค์กรที่รับเรื่องได้แก้ไขปัญหาตามสมควรแก่กรณีแล้ว ให้เสนอ ในการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง หากเป็นการขอให้บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีหนังสือ
คณะกรรมการยุติเรื่อง
(๒) กรณีหน่วยงานหรือองค์กรที่รับเรื่องไม่ด าเนินการแก้ไขปัญหา หรือด าเนินการยังไม่แล้วเสร็จ ชี้แจงข้อเท็จจริงหรือส่งเอกสารหลักฐาน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบค าร้องสรุปรายละเอียด
หรือไม่แจ้งผลการด าเนินการในเวลาอันสมควร ให้เสนอคณะกรรมการพิจารณาตามที่เห็นสมควรต่อไป ข้อเท็จจริงตามค าร้องให้เพียงพอแก่การชี้แจงได้โดยถูกต้องครบถ้วนด้วย เว้นแต่เป็นปัญหาข้อกฎหมาย
ให้ส านักงานจัดท ารายงานผลการประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเสนอคณะกรรมการ หรือเป็นปัญหาข้อเท็จจริงแต่ไม่มีความจ าเป็นที่ต้องตรวจสอบอีก พร้อมทั้งก าหนดระยะเวลาในการ
เพื่อทราบด้วย ชี้แจงข้อเท็จจริงหรือส่งเอกสารหลักฐาน แล้วแจ้งให้บุคคลหรือหน่วยงานดังกล่าวทราบด้วย
ในกรณีที่ไม่อาจชี้แจงข้อเท็จจริงหรือส่งเอกสารหลักฐานได้ทันภายในระยะเวลาที่ก าหนด
ข้อ ๑๘/๑ เรื่องร้องเรียนใดที่ขอให้คณะกรรมการด าเนินการอื่นนอกจากการตรวจสอบ ตามวรรคสอง บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจขอขยายระยะเวลาต่อคณะกรรมการได้ครั้งละไม่เกิน
๙
การละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หากเป็นเรื่องที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจ สิบห้าวันนับแต่วันที่ครบก าหนด แต่ให้ขอขยายได้ไม่เกินสองครั้ง
ของคณะกรรมการ ให้คณะกรรมการรับเรื่องร้องเรียนดังกล่าวไว้พิจารณาด าเนินการตามหน้าที่และ
อ านาจนั้นต่อไป ข้อ ๒๔ ในกรณีที่ต้องให้บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยค าต่อคณะกรรมการ กรรมการ
หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบค าร้องแจ้งบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้น
ข้อ ๑๙ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นว่าเรื่องร้องเรียนใดอยู่ในหน้าที่และอ านาจขององค์กรอิสระอื่น ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน เว้นแต่กรณีจ าเป็นเร่งด่วน อาจแจ้งก าหนดวันนัดตรวจสอบล่วงหน้า
ตามมาตรา ๖ ให้ส านักงานด าเนินการตามมติคณะกรรมการต่อไป ตามที่คณะกรรมการ กรรมการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ แล้วแต่กรณี เห็นสมควร
ข้อ ๒๐ เมื่อคณะกรรมการพิจารณามีมติตามข้อ ๑๖ ข้อ ๑๗ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ข้อ ๑๘ ในวันนัดตรวจสอบ บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีสิทธิชี้แจงเป็นหนังสือหรือด้วยวาจาก็ได้
๑๐
ข้อ ๑๘/๑ หรือข้อ ๑๙ แล้ว ให้ส านักงานแจ้งให้ผู้ร้องทราบเป็นหนังสือภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้มี ในกรณีเป็นการชี้แจงเป็นหนังสือ คณะกรรมการ กรรมการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ แล้วแต่กรณี
มติดังกล่าว อาจสอบถามข้อเท็จจริงเพิ่มเติมได้
หากไม่อาจมาปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการ กรรมการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามวรรคหนึ่งได้
หมวด ๓ บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจมอบอ านาจเป็นหนังสือให้มีผู้แทนมาด าเนินการได้ ทั้งนี้ การด าเนินการ
การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ของผู้แทนดังกล่าวให้ถือเป็นการด าเนินการของบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้น
บันทึกการให้ถ้อยค าตามข้อนี้ ให้เป็นไปตามแบบที่คณะกรรมการก าหนด
ข้อ ๒๑ เมื่อคณะกรรมการได้พิจารณาตามข้อ ๑๖ แล้วเห็นว่าเรื่องร้องเรียนมีมูล หรือในกรณีที่
ความปรากฏต่อคณะกรรมการว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นไม่ว่าจะมีผู้แจ้งหรือผู้ร้องเรียนหรือไม่ ข้อ ๒๕ ในกรณีที่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมาปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการ
ก็ตาม และคณะกรรมการมีมติให้รับไว้เป็นค าร้องเพื่อด าเนินการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน กรรมการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อชี้แจงข้อเท็จจริงในฐานะพยาน ต้องแจ้งให้บุคคลหรือหน่วยงาน
ให้มอบหมายพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบค าร้องเป็นผู้ด าเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและจัดท า ที่เกี่ยวข้องดังกล่าวทราบว่า กรรมการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ แล้วแต่กรณี เป็นเจ้าพนักงานตามประมวล
รายงานผลการตรวจสอบเสนอคณะกรรมการพิจารณาต่อไป กฎหมายอาญาและการให้ถ้อยค าอันเป็นเท็จอาจเป็นความผิดตามกฎหมาย
๑๑
ในการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจมอบหมายให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ถ้าบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องฝ่ายใดจ าเป็นต้องใช้ล่ามหรือสื่ออื่น เพื่อให้สามารถเข้าใจ
ซึ่งมิใช่พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบค าร้องร่วมด าเนินการด้วยก็ได้ หรือให้ถ้อยค าได้ ให้บุคคลหรือหน่วยงานดังกล่าวแจ้งถึงเหตุนั้นให้ส านักงานทราบล่วงหน้าก่อนถึงวันนัด
เพื่อจัดหาล่ามหรือสื่ออื่นให้
ข้อ ๒๒ ในกรณีค าร้องที่รับไว้ตรวจสอบตามข้อ ๒๑ จ านวนมากกว่าหนึ่งค าร้องขึ้นไป
มีข้อกล่าวอ้าง หรือประเด็นร้องเรียนอย่างเดียวกันหรือเกี่ยวเนื่องใกล้ชิดกันหรือมีคู่กรณีเดียวกันหรือ ข้อ ๒๖ คู่กรณีและพยานมีสิทธิน าทนายความหรือที่ปรึกษาของตนเข้ามาในกระบวนการ
ร่วมกัน ถ้าคณะกรรมการเห็นว่าจะเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา จะมีมติให้พิจารณารวมกันไปก็ได้ ตรวจสอบได้ ทั้งนี้ การใดที่ทนายความหรือที่ปรึกษาได้ท าลงต่อหน้าคู่กรณีหรือพยาน ให้ถือว่าเป็น
๑๒
การกระท าของคู่กรณีหรือพยาน แล้วแต่กรณี เว้นแต่คู่กรณีหรือพยานจะได้คัดค้านเสียแต่ในขณะนั้น
ในระหว่างการตรวจสอบ หากคณะกรรมการ กรรมการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ เห็นว่าทนายความ
๙ ข้อ ๑๘/๑ เพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ หรือที่ปรึกษาของคู่กรณีหรือพยานมีพฤติการณ์หรือความประพฤติไม่เหมาะสม คณะกรรมการ กรรมการ
๑๐ ข้อ ๒๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ นั้น อาจไม่อนุญาตให้ทนายความหรือที่ปรึกษาเข้าร่วมในกระบวนการตรวจสอบ
ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๑ ข้อ ๒๑ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ ๑๒ ข้อ ๒๖ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
82