Page 95 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 95
ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบค าร้องเห็นว่า การกระท าหรือการละเลยการกระท านั้น ข้อ ๓๙ ในกรณีที่การละเมิดสิทธิมนุษยชนเรื่องใดเป็นความผิดอาญา และผู้เสียหายไม่อยู่ใน
ไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือมีเหตุให้ยุติเรื่องในระหว่างการตรวจสอบตามมาตรา ๓๙ วรรคสอง ฐานะที่จะร้องทุกข์หรือกล่าวโทษด้วยตนเองได้ คณะกรรมการอาจมอบหมายให้กรรมการหรือเจ้าหน้าที่
หรือข้อ ๑๗ วรรคสาม ให้เสนอคณะกรรมการยุติเรื่องและจัดท ารายงานผลการตรวจสอบตามข้อนี้ด้วย ส านักงาน ด าเนินการร้องทุกข์หรือกล่าวโทษแทนผู้เสียหายได้
โดยอนุโลม ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจมีข้อสังเกตหรือข้อเสนอแนะอย่างหนึ่งอย่างใดต่อบุคคลหรือ กรณีผู้เสียหายไม่อยู่ในฐานะที่จะร้องทุกข์หรือกล่าวโทษตามวรรคหนึ่งได้ ให้หมายความรวมถึง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไว้ในรายงานผลการตรวจสอบนั้นด้วยก็ได้ กรณีผู้เสียหายอาจได้รับภยันตรายอย่างร้ายแรงแก่ชีวิตหรือร่างกายหากด าเนินการร้องทุกข์หรือกล่าวโทษ
ก่อนการพิจารณารายงานผลการตรวจสอบ คณะกรรมการอาจก าหนดให้มีกระบวนการ ด้วยตนเอง
กลั่นกรองรายงานผลการตรวจสอบด้วยก็ได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาในการด าเนินการ หมวด ๕
ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการก าหนด การขอให้พิจารณาใหม่
๑๓
ให้ส านักงานจัดท ารายงานผลการตรวจสอบให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่คณะกรรมการ
มีมติเห็นชอบรายงานผลการตรวจสอบในเรื่องนั้น ข้อ ๔๐ (ยกเลิก)
๑๔
รายงานผลการตรวจสอบตามข้อนี้ ให้เป็นไปตามแบบที่คณะกรรมการก าหนด
๑๕
ข้อ ๔๑ (ยกเลิก)
ข้อ ๓๔ ในการเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการ ข้อ ๔๒ (ยกเลิก)
๑๖
ละเมิดสิทธิมนุษยชนตามข้อ ๓๓ วรรคสอง (๖) ควรค านึงถึงความส าคัญในเรื่องดังต่อไปนี้
(๑) การที่ผู้ได้รับความเสียหายสามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้อย่างเสมอภาค ข้อ ๔๓ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควร หรือเมื่อคู่กรณี บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
และมีประสิทธิภาพ การด าเนินการตามมาตรการหรือแนวทางของคณะกรรมการตามข้อ ๓๓ วรรคสอง (๖) มีค าขอ
(๒) การเข้าถึงข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนและกลไกการเยียวยา ให้พิจารณารายงานผลการตรวจสอบใหม่ คณะกรรมการอาจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมข้อเท็จจริง
ตามความเหมาะสม หรือความเห็นตามรายงานผลการตรวจสอบเดิมได้ ในกรณีดังต่อไปนี้
(๓) การได้รับการแก้ไขหรือชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างเพียงพอและโดยไม่ล่าช้า (๑) มีพยานหลักฐานใหม่อันอาจท าให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระส าคัญ
(๒) คณะกรรมการมีมติโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายใด และต่อมาข้อเท็จจริงหรือ
ข้อ ๓๕ ในกรณีที่คณะกรรมการมีมติให้พิจารณาค าร้องรวมกันตามข้อ ๒๒ ให้จัดท ารายงาน ข้อกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระส าคัญในทางที่จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ขอ
เป็นฉบับเดียวกัน การยื่นค าขอตาม (๑) ให้กระท าได้เฉพาะเมื่อผู้ขอไม่อาจทราบถึงเหตุนั้นมาก่อนในการพิจารณา
ข้อ ๓๖ ให้ส านักงานแจ้งผลการตรวจสอบพร้อมด้วยรายงานไปยังผู้เกี่ยวข้อง ดังนี้ ครั้งที่แล้วโดยไม่ใช่ความผิดของผู้ขอ
(๑) แจ้งไปยังบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามข้อ ๓๓ ค าขอตามวรรคหนึ่งให้จัดท าเป็นหนังสือตามแบบที่คณะกรรมการก าหนด ยื่นต่อส านักงาน
(๒) แจ้งไปยังผู้ร้อง เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ร้องมิได้แจ้งสถานที่อยู่ที่จะติดต่อได้ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้ขอได้รู้หรือควรได้รู้ถึงเหตุซึ่งอาจขอให้พิจารณาใหม่ได้ ทั้งนี้ ให้น าความ
การแจ้งผลตามวรรคหนึ่ง ให้ท าเป็นหนังสือภายในสิบวันนับแต่วันที่ได้ด าเนินการตามข้อ ๓๓ ในข้อ ๑๓ มาใช้บังคับกับการยื่นค าขอโดยอนุโลม
วรรคหก เสร็จสิ้นแล้ว การเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมผลการตรวจสอบที่ท าให้ผลการพิจารณาเปลี่ยนแปลงไป
ในสาระส าคัญ ให้ยกเลิกรายงานผลการตรวจสอบฉบับเดิมและจัดท ารายงานผลการตรวจสอบฉบับใหม่
ข้อ ๓๗ เมื่อบุคคลหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ต้องด าเนินการตามข้อ ๓๓ วรรคสอง (๖) ได้รับแจ้ง
ผลการตรวจสอบแล้ว ให้ด าเนินการตามมาตรการหรือแนวทางของคณะกรรมการให้แล้วเสร็จภายใน
ระยะเวลาที่ก าหนดและแจ้งผลการด าเนินการให้คณะกรรมการทราบ
ในกรณีที่การด าเนินการตามมาตรการหรือแนวทางของคณะกรรมการไม่อาจกระท าให้แล้วเสร็จ
ได้ภายในระยะเวลาที่ก าหนด ให้บุคคลหรือหน่วยงานขอขยายระยะเวลาการด าเนินการต่อคณะกรรมการ
๑๓
ชื่อหมวด ๕ การขอให้พิจารณาใหม่ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์
พร้อมทั้งเหตุผลและระยะเวลาที่ขอขยายก่อนที่ก าหนดระยะเวลาเดิมจะสิ้นสุดลง แต่ห้ามมิให้ขอขยาย และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔
ระยะเวลาการด าเนินการมากกว่าสองครั้ง ๑๔ ข้อ ๔๐ ยกเลิกโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔
ข้อ ๓๘ ในการจัดท ารายงานผลการตรวจสอบ พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบค าร้องอาจเสนอต่อ ๑๕ ข้อ ๔๑ ยกเลิกโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบ
ส านักงานเพื่อขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความเห็นประกอบได้ ทั้งนี้ ตามระเบียบคณะกรรมการว่าด้วยการนั้น การละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔
๑๖
ข้อ ๔๒ ยกเลิกโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔
86