Page 49 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 49
มาตรา ๑๕ ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ หน่วยงานของรัฐ มาตรา ๑๘ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีค าสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดตามมาตรา ๑๔ หรือ
หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีค าสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ โดยค านึงถึงการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของ มาตรา ๑๕ หรือมีค าสั่งไม่รับฟังค าคัดค้านของผู้มีประโยชน์ได้เสียตามมาตรา ๑๗ ผู้นั้นอาจอุทธรณ์
หน่วยงานของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ และประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้องประกอบกัน ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งค าสั่งนั้น
(๑) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่าง โดยยื่นค าอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ
ประเทศ หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ มาตรา ๑๙ การพิจารณาเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารที่มีค าสั่งมิให้เปิดเผยนั้นไม่ว่าจะเป็น
(๒) การเปิดเผยจะท าให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจส าเร็จ การพิจารณาของคณะกรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารหรือศาลก็ตาม
ตามวัตถุประสงค์ได้ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการฟ้องคดี การป้องกัน การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ จะต้องด าเนินกระบวนการพิจารณาโดยมิให้ข้อมูลข่าวสารนั้นเปิดเผยแก่บุคคลอื่นใดที่ไม่จ าเป็น
หรือการรู้แหล่งที่มาของข้อมูลข่าวสารหรือไม่ก็ตาม แก่การพิจารณาและในกรณีที่จ าเป็นจะพิจารณาลับหลังคู่กรณีหรือคู่ความฝ่ายใดก็ได้
(๓) ความเห็นหรือค าแนะน าภายในหน่วยงานของรัฐในการด าเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด แต่ทั้งนี้
ไม่รวมถึงรายงานทางวิชาการ รายงานข้อเท็จจริง หรือข้อมูลข่าวสารที่น ามาใช้ในการท าความเห็น มาตรา ๒๐ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดแม้จะเข้าข่ายต้องมีความรับผิดตามกฎหมายใด
หรือค าแนะน าภายในดังกล่าว ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ต้องรับผิดหากเป็นการกระท าโดยสุจริตในกรณีดังต่อไปนี้
(๔) การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด (๑) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๕ ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐได้ด าเนินการโดยถูกต้องตามระเบียบ
(๕) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการรุกล้ าสิทธิส่วนบุคคล ตามมาตรา ๑๖
โดยไม่สมควร (๒) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๕ ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง
(๖) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ให้มา มีค าสั่งให้เปิดเผยเป็นการทั่วไปหรือเฉพาะแก่บุคคลใดเพื่อประโยชน์อันส าคัญยิ่งกว่าที่เกี่ยวกับประโยชน์
โดยไม่ประสงค์ให้ทางราชการน าไปเปิดเผยต่อผู้อื่น สาธารณะ หรือชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรือประโยชน์อื่นของบุคคล และค าสั่งนั้นได้กระท าโดยสมควร
(๗) กรณีอื่นตามที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกา แก่เหตุ ในการนี้จะมีการก าหนดข้อจ ากัดหรือเงื่อนไขในการใช้ข้อมูลข่าวสารนั้นตามความเหมาะสมก็ได้
ค าสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะก าหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ แต่ต้องระบุไว้ด้วย การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไม่เป็นเหตุให้หน่วยงานของรัฐพ้นจากความรับผิด
ว่าที่เปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใดและเพราะเหตุใด และให้ถือว่าการมีค าสั่งเปิดเผย ตามกฎหมายหากจะพึงมีในกรณีดังกล่าว
ข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นดุลพินิจ โดยเฉพาะของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามล าดับสายการบังคับบัญชา หมวด ๓
แต่ผู้ขออาจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ตามที่ก าหนดในพระราชบัญญัตินี้
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
มาตรา ๑๖ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติว่าข้อมูลข่าวสารของราชการจะเปิดเผยต่อ
บุคคลใดได้หรือไม่ภายใต้เงื่อนไขเช่นใด และสมควรมีวิธีรักษามิให้รั่วไหลให้หน่วยงานของรัฐก าหนด มาตรา ๒๑ เพื่อประโยชน์แห่งหมวดนี้ “บุคคล” หมายความว่า บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย
วิธีการคุ้มครองข้อมูลข่าวสารนั้น ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีก าหนดว่าด้วยการรักษาความลับ และบุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทยแต่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ของทางราชการ มาตรา ๒๒ ส านักข่าวกรองแห่งชาติ ส านักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐ
มาตรา ๑๗ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบ แห่งอื่นตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง อาจออกระเบียบโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
ถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอค าคัดค้านภายในเวลาที่ก าหนด แต่ต้อง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่มิให้น าบทบัญญัติวรรคหนึ่ง (๓) ของมาตรา ๒๓ มาใช้บังคับ
ให้เวลาอันสมควรที่ผู้นั้นอาจเสนอค าคัดค้านได้ ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง กับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ในความควบคุมดูแลของหน่วยงานดังกล่าวก็ได้
ผู้ที่ได้รับแจ้งตามวรรคหนึ่ง หรือผู้ที่ทราบว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการใดอาจกระทบ หน่วยงานของรัฐแห่งอื่นที่จะก าหนดในกฎกระทรวงตามวรรคหนึ่งนั้น ต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ
ถึงประโยชน์ได้เสียของตน มีสิทธิคัดค้านการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้โดยท าเป็นหนังสือถึงเจ้าหน้าที่ ซึ่งการเปิดเผยประเภทข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง (๓) จะเป็นอุปสรรคร้ายแรง
ของรัฐผู้รับผิดชอบ ต่อการด าเนินการของหน่วยงานดังกล่าว
ในกรณีที่มีการคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบต้องพิจารณาค าคัดค้านและแจ้งผลการ มาตรา ๒๓ หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลดังต่อไปนี้
พิจารณาให้ผู้คัดค้านทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่มีค าสั่งไม่รับฟังค าคัดค้าน เจ้าหน้าที่ของรัฐจะเปิดเผย (๑) ต้องจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเพียงเท่าที่เกี่ยวข้องและจ าเป็นเพื่อการด าเนินงาน
ข้อมูลข่าวสารนั้นมิได้จนกว่าจะล่วงพ้นก าหนดเวลาอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๘ หรือจนกว่าคณะกรรมการ ของหน่วยงานของรัฐให้ส าเร็จตามวัตถุประสงค์เท่านั้น และยกเลิกการจัดให้มีระบบดังกล่าว
วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้มีค าวินิจฉัยให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้ แล้วแต่กรณี เมื่อหมดความจ าเป็น
40