Page 23 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 23
(๑) ประกาศให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไปถึงกระบวนการสรรหากรรมการ โดยอย่างน้อย คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าที่มีอยู่ และให้ด าเนินการสรรหาเพิ่มเติมให้ครบตามจ านวน
ต้องระบุจ านวนต าแหน่งกรรมการที่จะสรรหา หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่จะใช้ในการสรรหา ที่ต้องสรรหาต่อไปโดยเร็ว
ทุกขั้นตอน และเพื่อประโยชน์แห่งการนี้ ให้คณะกรรมการสรรหาใช้วิธีการสัมภาษณ์หรือให้แสดงความคิดเห็น ให้ประธานวุฒิสภาน าความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการ และ
ในเรื่องที่เกี่ยวกับหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการ หรือวิธีการอื่นใดที่เหมาะสม เพื่อประกอบ เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
การพิจารณาด้วย มาตรา ๑๕ ผู้ได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภาให้เป็นกรรมการโดยที่ยังมิได้พ้นจากต าแหน่ง
(๒) การสรรหากรรมการให้กระท าโดยการประกาศรับสมัครหรือการเสนอชื่อบุคคล ตามมาตรา ๑๐ (๒๐) (๒๑) หรือ (๒๒) หรือยังประกอบวิชาชีพตามมาตรา ๑๐ (๒๓) อยู่
ซึ่งมีความเหมาะสมทั่วไปเพื่อเข้ารับการสรรหาซึ่งต้องกระท าโดยเปิดเผย โดยในการเสนอชื่อบุคคล ต้องแสดงหลักฐานว่าได้ลาออกหรือเลิกประกอบวิชาชีพดังกล่าวแล้ว ต่อประธานวุฒิสภาภายในเวลา
เพื่อเข้ารับการสรรหาจะต้องได้รับความยินยอมของบุคคลนั้นด้วย และให้มีการประกาศรายชื่อบุคคล ที่ประธานวุฒิสภาก าหนด ซึ่งต้องเป็นเวลาก่อนที่ประธานวุฒิสภาจะน าความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้ง
ที่จะเข้ารับการสรรหาให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป เพื่อรับฟังข้อมูลเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้เข้ารับ กรรมการ ในกรณีที่ไม่ได้แสดงหลักฐานภายในก าหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าผู้นั้นสละสิทธิ และให้
การสรรหาดังกล่าวเพื่อประกอบการพิจารณา ในการสรรหาด้วย ด าเนินการสรรหาใหม่
(๓) ในการสรรหา ให้คณะกรรมการสรรหาปรึกษาหารือเพื่อคัดสรรให้ได้บุคคลซึ่งมี
ความรับผิดชอบสูง มีความกล้าหาญในการปฏิบัติหน้าที่ และมีพฤติกรรม ทางจริยธรรมเป็นตัวอย่างที่ดี มาตรา ๑๖ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครหรือ
ของสังคม มีทัศนคติที่เหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลส าเร็จ รวมตลอดทั้งค านึงถึงการมีส่วนร่วม ผู้ได้รับการสรรหา ให้เป็นหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการสรรหาเป็นผู้วินิจฉัย ค าวินิจฉัยของ
ของทั้งหญิงและชาย และส่งเสริมความเป็นพหุสังคม และให้คณะกรรมการสรรหาส่งข้อมูลที่ใช้ คณะกรรมการสรรหาให้เป็นที่สุด
ในการพิจารณาคัดสรรไปยังวุฒิสภาเพื่อประกอบการพิจารณาด้วย การเสนอเรื่องเพื่อให้คณะกรรมการสรรหาวินิจฉัยตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
การก าหนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ต้องเพียงพอที่จะเปิดโอกาสให้บุคคลสามารถสมัครหรือ และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาก าหนด
เสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาได้อย่างทั่วถึง และท าให้กรรมการสรรหาสามารถพิจารณาคัดสรร การวินิจฉัย ให้ใช้วิธีลงคะแนนโดยเปิดเผย
บุคคลให้ด ารงต าแหน่งได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ให้น าความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับแก่กรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับ
ในการสรรหา ให้ใช้วิธีลงคะแนนโดยเปิดเผยและให้กรรมการสรรหาแต่ละคนบันทึกเหตุผล คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการสรรหาด้วยโดยอนุโลม แต่กรรมการสรรหาที่ถูกกล่าวหาว่า
ในการเลือกไว้ด้วย ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามจะอยู่ในที่ประชุมในขณะพิจารณาและวินิจฉัยมิได้
ผู้ซึ่งจะได้รับการสรรหาต้องได้รับคะแนนเสียงถึงสองในสามของจ านวนทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ มาตรา ๑๗ ให้ประธานกรรมการสรรหาและกรรมการสรรหาได้รับเบี้ยประชุมและ
คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทนอื่นตามที่ประธานวุฒิสภาก าหนด แต่ส าหรับเบี้ยประชุมให้ก าหนดให้ได้รับเป็นรายครั้ง
ถ้าไม่มีบุคคลใดได้รับคะแนนเสียงตามวรรคสี่ หรือมีแต่ยังไม่ครบจ านวนที่จะต้องสรรหา ให้มี ที่มาประชุมในอัตราไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของประธานกรรมการหรือกรรมการในคณะกรรมการข้าราชการ
การลงคะแนนใหม่ส าหรับผู้ได้คะแนนไม่ถึงสองในสาม ถ้ายังได้ไม่ครบตามจ านวนให้มีการลงคะแนน รัฐสภาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภาได้รับในแต่ละเดือน แล้วแต่กรณี
อีกครั้งหนึ่ง ในกรณีที่การลงคะแนนครั้งหลังนี้ยังได้บุคคลไม่ครบ ตามจ านวนที่จะต้องสรรหาให้ด าเนินการ
สรรหาใหม่ส าหรับจ านวนที่ยังขาดอยู่ มาตรา ๑๘ การน าคดีอันเกี่ยวเนื่องกับการได้มา คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม หรือ
การพ้นจากต าแหน่งของกรรมการสรรหาไปสู่ศาลปกครอง ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการปฏิบัติตามค าวินิจฉัย
มาตรา ๑๔ ผู้ได้รับการสรรหาเพื่อแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งกรรมการ ต้องได้รับความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสรรหา และมิให้น าบทบัญญัติว่าด้วยมาตรการหรือวิธีการชั่วคราวตามกฎหมาย
จากวุฒิสภาด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา ว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครองมาใช้บังคับ
ในกรณีที่วุฒิสภาไม่ให้ความเห็นชอบผู้ได้รับการสรรหารายใด ให้ด าเนินการสรรหาบุคคลใหม่
แทนผู้นั้น แล้วเสนอต่อวุฒิสภาเพื่อให้ความเห็นชอบต่อไป โดยผู้ซึ่งไม่ได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา มาตรา ๑๙ กรรมการมีวาระการด ารงต าแหน่งเจ็ดปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง
ในครั้งนี้จะเข้ารับการสรรหาในครั้งใหม่นี้ไม่ได้ และให้ด ารงต าแหน่งได้เพียงวาระเดียว
เมื่อมีผู้ได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภาแล้ว หากเป็นกรณีที่ประธานกรรมการพ้นจากต าแหน่งด้วย ในกรณีที่กรรมการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ หรือพ้นจากต าแหน่งตามมาตรา ๒๐ (๔)
ให้ผู้ได้รับความเห็นชอบประชุมร่วมกับกรรมการซึ่งยังด ารงต าแหน่งอยู่ถ้ามี เพื่อเลือกกันเองให้คนหนึ่ง ให้กรรมการที่พ้นจากต าแหน่งปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการใหม่แทน
เป็นประธานกรรมการแล้วแจ้งผลให้ประธานวุฒิสภาทราบในกรณีที่ผู้ซึ่งวุฒิสภาให้ความเห็นชอบยังได้ มาตรา ๒๐ นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการพ้นจากต าแหน่งเมื่อ
ไม่ครบจ านวนที่ต้องสรรหา แต่เมื่อรวมกับกรรมการซึ่งยังด ารงต าแหน่งอยู่ ถ้ามี มีจ านวนถึงห้าคน (๑) ตาย
ก็ให้ด าเนินการประชุมเพื่อเลือกประธานกรรมการได้ และเมื่อโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งแล้ว (๒) ลาออก
ให้คณะกรรมการด าเนินการตามหน้าที่และอ านาจต่อไปพลางก่อนได้ โดยในระหว่างนั้นให้ถือว่า (๓) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๘ หรือมาตรา ๙ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๐
14