Page 62 - คู่มือการเขียนหนังสือราชการ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 62

๕๐  คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ                                                                ๕๐  คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ





                                                                    บทที่ 9                                                                                                                                  บทที่ 9

                                                                 การทําสําเนา                                                                                                                             การทําสําเนา



                                    สําเนา คือ เอกสารที่จัดทําขึ้นเหมือนกับต้นฉบับไม่ว่าจะทําจากต้นฉบับ สําเนาคู่ฉบับหรือจาก                                                 สําเนา คือ เอกสารที่จัดทําขึ้นเหมือนกับต้นฉบับไม่ว่าจะทําจากต้นฉบับ สําเนาคู่ฉบับหรือจาก

                             สําเนาอีกชั้นหนึ่งการทําสําเนาอาจทําได้หลายวิธี ดังนี้                                                                                   สําเนาอีกชั้นหนึ่งการทําสําเนาอาจทําได้หลายวิธี ดังนี้
                                    ๑. วิธีคัดหรือลอกจากต้นฉบับ คําต่อคําให้ถูกต้องกับต้นฉบับเดิม                                                                            ๑. วิธีคัดหรือลอกจากต้นฉบับ คําต่อคําให้ถูกต้องกับต้นฉบับเดิม
                                    ๒. วิธีถอดหรือจัดทําพร้อมต้นฉบับ เช่น พิมพ์ต้นฉบับพร้อมสําเนาด้วยการใช้กระดาษคาร์บอน                                                     ๒. วิธีถอดหรือจัดทําพร้อมต้นฉบับ เช่น พิมพ์ต้นฉบับพร้อมสําเนาด้วยการใช้กระดาษคาร์บอน
                                    ๓. วิธีถ่ายจากต้นฉบับ เช่น การถ่ายด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร                                                                                  ๓. วิธีถ่ายจากต้นฉบับ เช่น การถ่ายด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร
                                    ๔. วิธีอัดสําเนาด้วยการทําให้หมึกที่กระดาษไขต้นฉบับติดที่กระดาษสําเนา                                                                    ๔. วิธีอัดสําเนาด้วยการทําให้หมึกที่กระดาษไขต้นฉบับติดที่กระดาษสําเนา


                                    สําเนาแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ                                                                                                            สําเนาแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทคือ
                                    ๑. “สําเนาคู่ฉบับ” เป็นสําเนาที่จัดทําพร้อมกับต้นฉบับและเหมือนต้นฉบับ ผู้ลงลายมือชื่อ                                                    ๑. “สําเนาคู่ฉบับ” เป็นสําเนาที่จัดทําพร้อมกับต้นฉบับและเหมือนต้นฉบับ ผู้ลงลายมือชื่อ

                             ในต้นฉบับจะลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้ และให้ผู้ร่าง ผู้พิมพ์และผู้ตรวจ ลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อ                                  ในต้นฉบับจะลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้ และให้ผู้ร่าง ผู้พิมพ์และผู้ตรวจ ลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อ
                             ย่อไว้ที่ข้างท้ายขอบล่างของหนังสือ ถ้าเป็นหนังสือภายนอกซึ่งปัจจุบันพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์การทํา                                     ย่อไว้ที่ข้างท้ายขอบล่างของหนังสือ ถ้าเป็นหนังสือภายนอกซึ่งปัจจุบันพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์การทํา
                             สําเนาวิธีนี้ คือ ให้ตัดครุฑออกแล้ว จึงสั่งพิมพ์สําเนาเป็น ๒ ฉบับ                                                                        สําเนาวิธีนี้ คือ ให้ตัดครุฑออกแล้ว จึงสั่งพิมพ์สําเนาเป็น ๒ ฉบับ




                                                                      ………………..ร่าง
                                                                                                                                                                                                               ………………..ร่าง
                                                                      ……………….พิมพ์                                                                                                                             ……………….พิมพ์
                                                                      ……………….ตรวจ                                                                                                                              ……………….ตรวจ



                                    ๒. “สําเนา” เป็นสําเนาที่ส่วนราชการหรือเจ้าหน้าที่จัดทําขึ้น สําเนานี้อาจทําขึ้นด้วยการถ่าย                                              ๒. “สําเนา” เป็นสําเนาที่ส่วนราชการหรือเจ้าหน้าที่จัดทําขึ้น สําเนานี้อาจทําขึ้นด้วยการถ่าย
                             คัดสําเนาหรือด้วยวิธีอื่นใด สําเนาชนิดนี้โดยปกติต้องมีการรับรอง                                                                          คัดสําเนาหรือด้วยวิธีอื่นใด สําเนาชนิดนี้โดยปกติต้องมีการรับรอง


                                    การรับรองสําเนา ให้มีคํารับรองว่า “สําเนาถูกต้อง” และให้เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ ๒ หรือ                                                   การรับรองสําเนา ให้มีคํารับรองว่า “สําเนาถูกต้อง” และให้เจ้าหน้าที่ตั้งแต่ระดับ ๒ หรือ
                             เทียบเท่าขึ้นไป ซึ่งเป็นเจ้าของเรื่องที่ทําสําเนานั้น ลงลายมือชื่อรับรอง พร้อมทั้งลงชื่อตัวบรรจงตําแหน่ง                                 เทียบเท่าขึ้นไป ซึ่งเป็นเจ้าของเรื่องที่ทําสําเนานั้น ลงลายมือชื่อรับรอง พร้อมทั้งลงชื่อตัวบรรจงตําแหน่ง

                             และวัน เดือน ปี ที่รับรอง และโดยปกติให้มีคําว่า “สําเนา” ไว้ที่กึ่งกลางหน้าเหนือบรรทัดแรกของสําเนา                                       และวัน เดือน ปี ที่รับรอง และโดยปกติให้มีคําว่า “สําเนา” ไว้ที่กึ่งกลางหน้าเหนือบรรทัดแรกของสําเนา
                             หนังสือด้วย                                                                                                                              หนังสือด้วย












                                                                   คู่มือการเขียนหนังสือราชการสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 53                                                                    คู่มือการเขียนหนังสือราชการสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 53
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67