Page 58 - คู่มือการเขียนหนังสือราชการ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 58

๔๘  คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ                                                                ๔๘  คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ





                                                          การตรวจแก้ร่างหนังสือ                                                                                                                    การตรวจแก้ร่างหนังสือ

                                                          -----------------------------                                                                                                            -----------------------------


                                  วิธีตรวจแก้และเครื่องหมายในการตรวจแก้หนังสือ มีวิธีดังนี้                                                                                วิธีตรวจแก้และเครื่องหมายในการตรวจแก้หนังสือ มีวิธีดังนี้

                                  ๑) ตรวจรูปแบบว่าถูกต้องตามมาตรฐานของระเบียบงานสารบรรณหรือไม่ ดังนั้นผู้ตรวจต้อง                                                          ๑) ตรวจรูปแบบว่าถูกต้องตามมาตรฐานของระเบียบงานสารบรรณหรือไม่ ดังนั้นผู้ตรวจต้อง
                           แม่นยําในรูปแบบของหนังสือ                                                                                                                แม่นยําในรูปแบบของหนังสือ
                                  ๒) ตรวจเนื้อหา พิจารณาเนื้อหาสาระทั้งในหนังสือที่อ้างถึง หนังสือที่เขียนไป ตรวจการตั้งชื่อเรื่อง                                         ๒) ตรวจเนื้อหา พิจารณาเนื้อหาสาระทั้งในหนังสือที่อ้างถึง หนังสือที่เขียนไป ตรวจการตั้งชื่อเรื่อง

                           การสรุปย่อในย่อหน้าแรก การเสนอเนื้อหาในส่วนเนื้อความ การลําดับความ ตลอดจนการลงท้ายที่แสดง                                                การสรุปย่อในย่อหน้าแรก การเสนอเนื้อหาในส่วนเนื้อความ การลําดับความ ตลอดจนการลงท้ายที่แสดง
                           ความประสงค์ของหนังสือ รวมทั้งสิ่งที่ส่งมาด้วย                                                                                            ความประสงค์ของหนังสือ รวมทั้งสิ่งที่ส่งมาด้วย
                                  ๓) ตรวจภาษา ข้อบกพร่องส่วนใหญ่ด้านภาษา เช่น สะกดผิด วรรคตอนผิด ประโยคยาวเกินไป เป็นต้น                                                   ๓) ตรวจภาษา ข้อบกพร่องส่วนใหญ่ด้านภาษา เช่น สะกดผิด วรรคตอนผิด ประโยคยาวเกินไป เป็นต้น
                                  ๔) เครื่องหมายในการตรวจแก้ร่างมีระบบที่เป็นสากล ใช้ได้ในตรวจสอบการเขียนหรือการพิมพ์                                                      ๔) เครื่องหมายในการตรวจแก้ร่างมีระบบที่เป็นสากล ใช้ได้ในตรวจสอบการเขียนหรือการพิมพ์

                           ทั่วไป ผู้ตรวจกับผู้ร่างและผู้พิมพ์ต้องรู้จักเครื่องหมายที่ใช้ในการตรวจแก้นี้ตรงกัน                                                      ทั่วไป ผู้ตรวจกับผู้ร่างและผู้พิมพ์ต้องรู้จักเครื่องหมายที่ใช้ในการตรวจแก้นี้ตรงกัน





























                                                          เครื่องหมายในการตรวจแก้ร่างหนังสือ                                                                                                       เครื่องหมายในการตรวจแก้ร่างหนังสือ
                                                                   ภาคผนวก ค                                                                                                                                ภาคผนวก ค




                                                                   คู่มือการเขียนหนังสือราชการสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 49                                                                    คู่มือการเขียนหนังสือราชการสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 49
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63