Page 57 - คู่มือการเขียนหนังสือราชการ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 57

๔๘  คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ                                                                ๔๘  คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                                                           คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  ๔๗                                                                คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  ๔๗


                               การร่างหนังสือประชาสัมพันธ์                                                                                                              การร่างหนังสือประชาสัมพันธ์                                                                                                                       การตรวจแก้ร่างหนังสือ
                                                                                                                                                                                 การตรวจแก้ร่างหนังสือ
                               - ต้องร่างตามแบบที่กําหนดไว้                                                                                                             - ต้องร่างตามแบบที่กําหนดไว้
                                                                                                                                                                                 -----------------------------
                               - ข้อความต้องสมเหตุสมผล เพื่อให้ผู้อ่านนึกคิดคล้อยตามเจตนาที่ต้องการ                                                                     - ข้อความต้องสมเหตุสมผล เพื่อให้ผู้อ่านนึกคิดคล้อยตามเจตนาที่ต้องการ                                                                              -----------------------------
                               - อย่าให้มีข้อขัดแย้งกันในฉบับนั้น หรือขัดแย้งกับฉบับก่อนเว้นแต่เป็นการแถลงแก้                                                           - อย่าให้มีข้อขัดแย้งกันในฉบับนั้น หรือขัดแย้งกับฉบับก่อนเว้นแต่เป็นการแถลงแก้
                                                                                                                                                                        - ใช้ถ้อยคําสุภาพ
                               - ใช้ถ้อยคําสุภาพ                                                                                                         วิธีตรวจแก้และเครื่องหมายในการตรวจแก้หนังสือ มีวิธีดังนี้                                                                                วิธีตรวจแก้และเครื่องหมายในการตรวจแก้หนังสือ มีวิธีดังนี้

                                                                                                                                                         ๑) ตรวจรูปแบบว่าถูกต้องตามมาตรฐานของระเบียบงานสารบรรณหรือไม่ ดังนั้นผู้ตรวจต้อง                                                          ๑) ตรวจรูปแบบว่าถูกต้องตามมาตรฐานของระเบียบงานสารบรรณหรือไม่ ดังนั้นผู้ตรวจต้อง
                                                                                                                                                                        สิ่งที่ผู้ร่างหนังสือควรปฏิบัติ
                               สิ่งที่ผู้ร่างหนังสือควรปฏิบัติ                                                                                    แม่นยําในรูปแบบของหนังสือ                                                                                                                แม่นยําในรูปแบบของหนังสือ

                               - ผู้ร่างควรเขียนให้ชัดเจน อ่านง่าย เพื่อความสะดวกในการตรวจแก้ร่างก่อนพิมพ์                                               ๒) ตรวจเนื้อหา พิจารณาเนื้อหาสาระทั้งในหนังสือที่อ้างถึง หนังสือที่เขียนไป ตรวจการตั้งชื่อเรื่อง                                         ๒) ตรวจเนื้อหา พิจารณาเนื้อหาสาระทั้งในหนังสือที่อ้างถึง หนังสือที่เขียนไป ตรวจการตั้งชื่อเรื่อง
                                                                                                                                                                        - ผู้ร่างควรเขียนให้ชัดเจน อ่านง่าย เพื่อความสะดวกในการตรวจแก้ร่างก่อนพิมพ์
                               - เพื่อการประหยัด ใช้กระดาษที่พิมพ์แล้วหน้าหนึ่งและไม่ใช้นําอีกหน้าหนึ่งมาเป็นกระดาษร่างหนังสือได้                 การสรุปย่อในย่อหน้าแรก การเสนอเนื้อหาในส่วนเนื้อความ การลําดับความ ตลอดจนการลงท้ายที่แสดง                                                การสรุปย่อในย่อหน้าแรก การเสนอเนื้อหาในส่วนเนื้อความ การลําดับความ ตลอดจนการลงท้ายที่แสดง
                                                                                                                                                                        - เพื่อการประหยัด ใช้กระดาษที่พิมพ์แล้วหน้าหนึ่งและไม่ใช้นําอีกหน้าหนึ่งมาเป็นกระดาษร่างหนังสือได้
                                                                                                                                                                        - เมื่อร่างเสร็จให้เสนอตัวร่างและเรื่องประกอบที่สมบูรณ์ขึ้นไปให้ผู้บังคับบัญชาตรวจร่างและพิจารณา
                               - เมื่อร่างเสร็จให้เสนอตัวร่างและเรื่องประกอบที่สมบูรณ์ขึ้นไปให้ผู้บังคับบัญชาตรวจร่างและพิจารณา                   ความประสงค์ของหนังสือ รวมทั้งสิ่งที่ส่งมาด้วย                                                                                            ความประสงค์ของหนังสือ รวมทั้งสิ่งที่ส่งมาด้วย
                                   สั่งพิมพ์                                                                                                             ๓) ตรวจภาษา ข้อบกพร่องส่วนใหญ่ด้านภาษา เช่น สะกดผิด วรรคตอนผิด ประโยคยาวเกินไป เป็นต้น                                                   ๓) ตรวจภาษา ข้อบกพร่องส่วนใหญ่ด้านภาษา เช่น สะกดผิด วรรคตอนผิด ประโยคยาวเกินไป เป็นต้น
                                                                                                                                                                            สั่งพิมพ์
                                                                                                                                                                        - เมื่อพิมพ์หนังสือฉบับนั้นและตรวจถูกต้องแล้วไม่จําเป็นต้องเก็บรักษากระดาษร่างไว้ เว้นแต่
                               - เมื่อพิมพ์หนังสือฉบับนั้นและตรวจถูกต้องแล้วไม่จําเป็นต้องเก็บรักษากระดาษร่างไว้ เว้นแต่                                 ๔) เครื่องหมายในการตรวจแก้ร่างมีระบบที่เป็นสากล ใช้ได้ในตรวจสอบการเขียนหรือการพิมพ์                                                      ๔) เครื่องหมายในการตรวจแก้ร่างมีระบบที่เป็นสากล ใช้ได้ในตรวจสอบการเขียนหรือการพิมพ์
                                                                                                                                                                            เรื่องสําคัญที่ผู้บังคับบัญชาแก้ไข ควรเก็บไว้ประกอบเรื่อง
                                   เรื่องสําคัญที่ผู้บังคับบัญชาแก้ไข ควรเก็บไว้ประกอบเรื่อง                                                      ทั่วไป ผู้ตรวจกับผู้ร่างและผู้พิมพ์ต้องรู้จักเครื่องหมายที่ใช้ในการตรวจแก้นี้ตรงกัน                                                      ทั่วไป ผู้ตรวจกับผู้ร่างและผู้พิมพ์ต้องรู้จักเครื่องหมายที่ใช้ในการตรวจแก้นี้ตรงกัน


                               เทคนิคการตรวจร่างหนังสือ                                                                                                                 เทคนิคการตรวจร่างหนังสือ
                               ผู้ตรวจร่างหนังสือ เป็นผู้กลั่นกรองงานโดยใช้ความรู้ความสามารถและวิจารณญาณอย่างลึกซึ้ง                                                    ผู้ตรวจร่างหนังสือ เป็นผู้กลั่นกรองงานโดยใช้ความรู้ความสามารถและวิจารณญาณอย่างลึกซึ้ง
                        เป็นผู้รับผิดชอบอย่างเต็มที่ในผลงานนั้น ควรมีคุณสมบัติ ดังนี้                                                                            เป็นผู้รับผิดชอบอย่างเต็มที่ในผลงานนั้น ควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
                               ๑) มีความรู้ในงานสารบรรณ รู้ระเบียบงานสารบรรณทุกขั้นตอนเป็นอย่างดี                                                                       ๑) มีความรู้ในงานสารบรรณ รู้ระเบียบงานสารบรรณทุกขั้นตอนเป็นอย่างดี

                               ๒) มีความรู้เรื่องหนังสือราชการหรือหนังสือโต้ตอบ                                                                                         ๒) มีความรู้เรื่องหนังสือราชการหรือหนังสือโต้ตอบ
                               ๓) มีความรู้ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ผู้ตรวจต้องสามารถวิเคราะห์ความถูกต้องเหมาะสมของ                                              ๓) มีความรู้ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ผู้ตรวจต้องสามารถวิเคราะห์ความถูกต้องเหมาะสมของ
                        เนื้อหา การอ้างอิงข้อมูลหรือข้อกฎหมาย การเสนอความคิดเห็นหรือข้อพิจารณา เป็นต้น                                                           เนื้อหา การอ้างอิงข้อมูลหรือข้อกฎหมาย การเสนอความคิดเห็นหรือข้อพิจารณา เป็นต้น

                               ๔) มีความรู้ความสามารถทางภาษา การสะกดคํา การใช้คํา ประโยค และการเรียบเรียงข้อความ                                                        ๔) มีความรู้ความสามารถทางภาษา การสะกดคํา การใช้คํา ประโยค และการเรียบเรียงข้อความ
                        ให้ถูกต้อง ชัดเจนและเข้าใจง่าย รู้จักใช้วรรคเล็กวรรคใหญ่ การตัดคําระหว่างบรรทัด ตลอดจนการย่อหน้า                                         ให้ถูกต้อง ชัดเจนและเข้าใจง่าย รู้จักใช้วรรคเล็กวรรคใหญ่ การตัดคําระหว่างบรรทัด ตลอดจนการย่อหน้า
                        อย่างเหมาะสม                                                                                                                             อย่างเหมาะสม
                               ๕) มีความคิดวิจารณญาณและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถพิจารณาความเหมาะสมของเรื่อง                                                       ๕) มีความคิดวิจารณญาณและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถพิจารณาความเหมาะสมของเรื่อง
                        และผลที่จะเกิดขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์ในการเสนอความคิดเห็น ไม่ยึดติดวิธีเขียนแบบเดิมที่เขียนตามกันมา                                     และผลที่จะเกิดขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์ในการเสนอความคิดเห็น ไม่ยึดติดวิธีเขียนแบบเดิมที่เขียนตามกันมา

                               ๖) มีความรอบคอบและรับผิดชอบ ต้องเป็นคนช่างสังเกตและรอบคอบทุกด้าน                                                                         ๖) มีความรอบคอบและรับผิดชอบ ต้องเป็นคนช่างสังเกตและรอบคอบทุกด้าน
                               ๗) มีเหตุผลที่อธิบายได้ สามารถอธิบายแก่ผู้พิมพ์ได้ การอธิบายจะทําให้ผู้ร่างและผู้พิมพ์พัฒนา                                              ๗) มีเหตุผลที่อธิบายได้ สามารถอธิบายแก่ผู้พิมพ์ได้ การอธิบายจะทําให้ผู้ร่างและผู้พิมพ์พัฒนา
                        ความรู้และปฏิบัติงานได้รวดเร็วขึ้น                                                                                                       ความรู้และปฏิบัติงานได้รวดเร็วขึ้น

                               ๘) มีความเห็นอกเห็นใจ ไม่ควรแก้ร่างทั้งหมดหรือขีดฆ่าทั้งหน้า ไม่ควรขีดฆ่าทับคําเดิมแต่ใช้การ                                             ๘) มีความเห็นอกเห็นใจ ไม่ควรแก้ร่างทั้งหมดหรือขีดฆ่าทั้งหน้า ไม่ควรขีดฆ่าทับคําเดิมแต่ใช้การ
                        วงรอบคําผิดแล้วแก้ไขไว้ข้างบนคํานั้น หรือโยงออกมาเขียนแก้ในที่ว่าง การแก้ไขควรเขียนชัดเจนให้อ่านง่าย                                     วงรอบคําผิดแล้วแก้ไขไว้ข้างบนคํานั้น หรือโยงออกมาเขียนแก้ในที่ว่าง การแก้ไขควรเขียนชัดเจนให้อ่านง่าย




                                                                                                                                                                                 เครื่องหมายในการตรวจแก้ร่างหนังสือ                                                                                                       เครื่องหมายในการตรวจแก้ร่างหนังสือ


                                                                                                                                                                                          ภาคผนวก ค                                                                                                                                ภาคผนวก ค




                  48    คู่มือการเขียนหนังสือราชการสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ                                                                 48    คู่มือการเขียนหนังสือราชการสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62