Page 196 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
P. 196

ผังเมืองกับก�รคุ้มครองสิทธิชุมชน
                                                                                         และสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน



             ต่างๆ ทั้งทางบวกและลบ จึงเป็นทั้งเครื่องมือและกลไกหนึ่งที่จะนำามาสู่การบูรณาการทั้งความคิดและ

             การปฏิบัติการ ให้เกิดการทำางานอย่างมีระบบและมีกระบวนการตัดสินใจอย่างมีส่วนร่วม โดยมุ่งเป้าของ

             การพัฒนาที่ยั่งยืนบนศักยภาพและเงื่อนไขของการพัฒนาในระยะยาว ซึ่งการพัฒนานโยบายและแผนที่
             เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่นี้ กระบวนการ SEA จะมีส่วนสำาคัญในการกำาหนดเป้าประสงค์การพัฒนาและ

             ทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ 7


                    และในระดับผังเมืองรวมจังหวัด พบว่าจังหวัดเลยและจังหวัดอุดรธานี ซึ่งมีข้อร้องเรียนในด้าน
             การพัฒนาเหมืองแร่ และการขุดเจาะสำารวจพลังงานนั้น ยังไม่มีมาตรการในข้อกำาหนดผังเมืองในกิจกรรม

             เหมืองแร่ และกิจกรรมการขุดเจาะสำารวจพลังงาน เนื่องจากไม่ได้เป็นกิจการที่อยู่ในประเภทโรงงาน

             ซึ่งใช้อ้างอิง และกิจการดังกล่าวทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้พื้นที่ ทั้งที่เป็นพื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่

             เกษตรและชุมชน จึงทำาให้การควบคุมการใช้ที่ดินไม่ครอบคลุมและไม่มีสาระที่นำาไปพิจารณาในการกำาหนด

             มาตรการป้องกันผลกระทบและการพิจารณาอนุมัติอนุญาต

                    นอกจากนี้ ในเงื่อนไขของการให้สัมปทานและอาชญาบัตรในกิจการดังกล่าว ไม่มีเงื่อนไขผังเมือง

             ในระดับการให้สัมปทาน แต่จะมีการพิจารณาผลกระทบด้านการใช้ที่ดินในระดับโครงการเมื่อมีการจัดทำา
             รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ


                    ดังนั้น จึงควรมีการมีส่วนร่วมของหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ในการจัดกลุ่มประเภท
             กิจกรรมที่มีการขอสัมปทานดังกล่าวและนำามาประเมินผลกระทบระดับยุทธศาสตร์ในเชิงพื้นที่และกำาหนด

             ทางเลือกให้มีเขตการให้สัมปทานที่เป็นการกำาหนดร่วมกันซึ่งจะต้องมีการปรับปรุงพระราชบัญญัติแร่

             พ.ศ. 2510 และพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง


                (3) การปรับปรุง พัฒนาศักยภาพและขยายอัตรากำาลัง หน่วยงานกฤษฎีกา

                    เนื่องด้วยผังเมืองส่วนใหญ่ ใช้เวลานานมากในช่วงจากการตรวจของสำานักงานคณะกรรมการ

             กฤษฎีกา เนื่องด้วยต้องมีความถูกต้องของพื้นที่ นามศัพท์ และข้อความทางกฎหมาย ในขณะที่สำานักงาน

             คณะกรรมการกฤษฎีกามีภารกิจอื่นนอกเหนือจากด้านผังเมือง จึงควรมีการพิจารณาปรับปรุง พัฒนา

             ศักยภาพและขยายอัตรากำาลัง รวมทั้งพิจารณาการขยายหน่วยงานในภูมิภาค เนื่องด้วยผังเมืองเป็น
             กฎกระทรวงที่ใช้บังคับเฉพาะพื้นที่














             7  สำานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ก�รจัดทำ�แนวท�งก�รประเมินสิ่งแวดล้อมระดับ
             ยุทธศ�สตร์. เอกสารอัดสำาเนา. 2550. หน้า 2-4.




                                                           195
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201