Page 124 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 124

คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำารวจตามหลักสิทธิมนุษยชน




          ๓.๑๐  การควบคุมผู้ต้องหาในคดีที่อยู่ในอำานาจศาลอาญา
                  หรือศาลจังหวัด (คดีที่อัตราโทษจำาคุกเกินสามปี หรือปรับเกิน
                  หกหมื่นบาท บาท หรือทั้งจำาทั้งปรับ)


                   ๓.๑๐.๑   ควบคุมได้สี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่มาถึงที่ทำาการ
          ของพนักงานสอบสวน

                   ๓.๑๐.๒   หากจะครบสี่สิบแปดชั่วโมง แล้ว แต่ยังสอบสวน
          ไม่เสร็จ ต้องนำาตัวผู้ต้องหาไปขอฝากขังต่อศาลแยกพิจาณาดังนี้

                   ๓.๑๐.๓   คดีที่มีอัตราโทษจำาคุกอย่างสูงเกินหกเดือน แต่ไม่ถึง
          สิบปี ขอฝากขังได้หลายครั้ง ครั้งละไม่เกินสิบสองวัน รวมกันทั้งหมด
          ต้องไม่เกินสี่สิบแปดวัน (โปรดดู ป.วิ.อ. มาตรา ๘๗ วรรคห้า)

                   ๓.๑๐.๔   คดีที่มีอัตราโทษจำาคุกอย่างสูงตั้งแต่สิบปีขึ้นไป
          ขอฝากขังได้หลายครั้ง ครั้งละ ไม่เกินสิบสองวัน รวมกันทั้งหมดต้องไม่เกิน
          แปดสิบสี่วัน (โปรดดู ป.วิ.อ. มาตรา ๘๗ วรรคหก)





          ๓.๑๑  การควบคุมผู้ต้องหาในคดีที่อยู่ในอำานาจศาลเยาวชน
                  และครอบครัว (เด็กอายุไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์)



                   ห้ามมิให้ควบคุม คุมขัง กักขัง คุมความประพฤติ หรือใช้มาตรการ
          อื่นใดอันเป็นการจำากัดสิทธิเสรีภาพของเด็กหรือเยาวชนซึ่งต้องหาว่า
          กระทำาความผิด หรือเป็นจำาเลย เว้นแต่มีหมายหรือคำาสั่งของศาล
          (พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาเยาวชนและครอบครัวฯ
          มาตรา ๖๘)

                   การควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชนต้องกระทำาโดยละมุนละม่อม
          โดยคำานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และไม่เป็นการประจาน และห้ามมิให้



                                       100
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129