Page 125 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 125
บรรณานุกรม
ต าราภาษาไทย
กุลพล พลวัน, พัฒนาการแห่งสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ : บริษัทส่านักพิมพ์วิญญูชน จ่ากัด, พ.ศ.
๒๕๓๘, น. ๒๕.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, กฎหมายมหาชน:วิวัฒนาการทางปรัชญาและลักษณะของกฎหมาย
มหาชนยุคต่างๆ, พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๗, น. ๕๙-๖๐.
วีรพงษ์ บึงไกร. (๒๕๔๓) การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐, น. ๑๔.
เสรี นนทสูติ, สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดองค์กรอิสระ
ตามรัฐธรรมนูญ เรื่อง ๓ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของ
คุรุสภา, ๒๕๔๕, น. ๘.
โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิของผู้ต้องหา จ่าเลย และผู้ต้องโทษในคดีอาญา โดย
รองศาสตราจารย์ ณรงค์ ใจหาญ และคณะ, เสนอต่อ ส่านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, พ.ศ. ๒๕๔๐.
โภคิน พลกุล, ปัญหาและข้อคิดบางเรื่องจากรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่ง
ประเทศไทย, ๒๕๒๑, น. ๘๗.
วิทยานิพนธ์ภาษาไทย
ปิยะพร วงศ์เบี้ยสัจจ์, “การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยธนาคารพาณิชย์กับมาตรการทาง
กฎหมายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล”, วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิต, ๒๕๕๑, น. ๓๕ – ๓๗.
ศศิภา เรืองฤทธิ์ชาญกุล, “มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการเผยแพร่ข่าวผู้เสียหายใน
ความผิดเกี่ยวกับเพศ วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๓.
วารสารภาษาไทย
บุญสิทธิ์ บุญโพธิ์, สื่อมวลชนกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, วารสารนักบริหาร ปีที่ ๓๐ ฉบับที่
๑ (ม.ค.- มี.ค. ๒๕๕๓), น. ๘๖-๘๘.
๑๑๐