Page 68 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 68

สวนที่ 2 สรีระทางเพศ: หี  51

                               เรื่องเพศ และตองดํารงอยูในความสัมพันธที่เต็มไปดวยความวิตกกังวลและ
                               หวาดระแวงกลัวฝายชายจะรูวาตนเองเคยมีประสบการณทางเพศมากอน
                                     สําหรับที่มาของคําวา “หี” นั้นมาจากคําในภาษาบาลีและภาษา

                               สันสกฤต ซึ่งแปลวา เลว ต่ํา หยาบ ไมดี (แตถาเปนรากศัพทที่มีการผันกิริยา
                               จะแปลวา เสื่อม) ดังนั้นคําวา “หี” ที่มีความหมายใกลเคียงกับความหมายเดิม

                               จึงถูกนํามาใชเรียกแทนอวัยวะเพศหญิง เปนคําตรงขามกับคําวา “ควย”
                               ที่มาจากคําวา คุยหะ แปลวา ที่ลับ หรือ ของลับ คือ อวัยวะเพศชาย
                                     ในภาษาดั้งเดิมคือภาษาบาลีใหคําจํากัดความของ “หี” ไวอยางกลางๆ วา
                                     หีนา หีน หิน หรือ อิติ หิติ แตละคําออกเสียงตางกันไปตามสําเนียง
                                                                 5
                               ภาษาและแปลวา “เล็กๆ” หรือ “ชองแคบๆ”  แตความหมายดานลบของคําวา
                               “หี” กลับประทับแนนในความทรงจําของผูคนมากกวา คําวาหีจึงกลับกลายเปน
                               คําหยาบซึ่งไมนิยมใชพูดกันในที่สาธารณะ

                                     การตัดสินคุณคาของอวัยวะเพศหญิงวามีความหมายต่ํากวาอวัยวะเพศ
                               ชาย ทําใหเกิดความเหลื่อมล้ําต่ําสูงระหวางเพศในสังคม และตอกย้ําเรื่อง
                               ความเปนผูนําของผูชายและความเปนผูตามของผูหญิง ระบบคุณคานี้สงผล
                               กระทบทั้งทางตรงและทางออมตอการรับรูและการเคารพในศักดิ์ศรีความเปน

                               มนุษยของกันละกัน ในอันที่จะสรางการเรียนรูเรื่องเพศในเชิงบวกที่สงเสริม
                               ความเทาเทียมในความเปนมนุษยและการปฏิบัติที่ปราศจากอคติทางเพศ
                                     โดยทั่วไปคําวา “หี” มักถูกใชรวมกับคําอื่นเมื่อพูดถึงลักษณะหรือ

                               พฤติกรรมที่ไมนาพอใจของทั้งชายและหญิง ซึ่งอาจจะเปนพฤติกรรมที่เกี่ยวของ
                               หรือไมเกี่ยวของกับเรื่องเพศก็ได เชน เว็บไซตอันไซลโคลพิเดียไรสารานุกรมเสรี
                               กลาววา
                                     หี เปน คําดา กลาวถึงชายหรือหญิงที่ขาดความสามารถหรือถูกดูถูก

                               วาต่ํา เปรียบเทียบกับอวัยวะเพศซึ่งเปนของต่ํา นอกจากนี้ยังมีการใชใน
                               คําอุทาน เชน “ไอหนาหี” “เหอหี” “หีแหก” “ผูชายมีหี” ฯลฯ และมีการใชรวมกับ
                               คําหยาบอื่นๆ เชน “ใจเทาหีมด” อารมณเดียวกับปอดแหก แตระดับดีกรีจะ



                               5   คําๆ นี้มีความหมายตรงขามกับคําวา “มหา”  หรือ “มะหะ”  ซึ่งแปลวา ใหญ,  ยักษ  เชนคําวา
                                 หีนยาน  (นิกายหนึ่งในศาสนาพุทธ) หีตา (รูน้ําตา) และ หีเตา (ผมหางเตา)

                                                        มลฤดี ลาพิมล
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73