Page 148 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 148
สวนที่ 3 การปฏิบัติทางเพศ: เสร็จ 131
ดานสรีระวิทยาของเพศชายและหญิงมาแลว โดยผานคําอธิบายที่วาดวยเรื่อง
ของความงาย/ยาก เร็ว/นาน ครั้งเดียว/หลายครั้ง หลั่ง/ไมหลั่ง การไปถึง/ไมถึง
จุดสุดยอด รวมทั้งคําอธิบายเรื่องอาการผิดปกติ หรือโรคที่เกิดจากการถึง
จุดสุดยอดอยางรวดเร็ว หรือการไมถึงจุดสุดยอดของการมีเพศสัมพันธ หรือ
การชวยตัวเอง โดยคําอธิบายตางๆ เหลานี้ไมไดอธิบายถึงการเสร็จ หรือการ
มีความสุขทางเพศในมิติของความรูสึก อารมณและจิตใจแตอยางใด
การ “เสร็จ” จึงถือเปนเปาหมายที่สําคัญอีกประการหนึ่งของการมี
เพศสัมพันธนอกเหนือไปจากการมีเพศสัมพันธเพื่อสืบทอดทายาท โดยเฉพาะ
ในผูชายนอกจากการเสร็จของตนจะเปนเปาหมายที่สําคัญในการมีเพศสัมพันธ
ครั้งนั้นๆ แลว การเสร็จของคูความสัมพันธยังถือวาเปนเปาหมายในการตอบสนอง
ความพึงพอใจและความสุขทางเพศ หรือความภาคภูมิในความเปนชายของตน
อีกดวย
ในการมีเพศสัมพันธสวนใหญ ผูชายหรือผูที่สวมบทเปนฝายรุก (หรือ
ผูกระทําในบริบทของชายรักชาย และหญิงรักหญิง) มักถามคูความสัมพันธ
ของตนถึงเพศสัมพันธที่เกิดขึ้นวา “ถึงไหม” “ไดไหม” “เสร็จไหม” “ออกไหม”
“แตกไหม” คําถามนี้อาจเปนคําถามที่แสดงถึงความหวงใยวาคูของตนมีความสุข
หรือไม หรืออาจถามเพราะตองการไดรับความมั่นใจวาตนทําใหคูมีความสุข
แสดงถึงความเปนนักรัก หรือผูกระทํา ฝายรุกที่เกงกาจ และสะทอนถึงคานิยม
ในเรื่องของศักดิ์ศรีความเปนชายที่สังคมใหคุณคาวาผูชายควรเปนเพศที่มี
ประสบการณ หรือมีความชํานาญในเรื่องเพศ หรือเปนไปไดทั้งสองความหมาย
คือทั้งหวงใยคูและอยากรูลีลารักของตน
แตในทางกลับกัน ผูหญิงสวนใหญใชวาจะตอบคําถามนี้ไดงายเหมือน
การตั้งคําถามของฝายชาย เพราะชุดวิธีคิดในเรื่องเพศของสังคมไทย เปนสิ่งที่
ตีกรอบและควบคุมใหผูหญิงตองตกอยูในอุดมการณความเปน “กุลสตรี” การ
“รักนวลสงวนตัว” และถูกครอบงําใหตองเปนผูไรเดียงสาในเรื่องเพศอยูเสมอ
ดังนั้นปฏิกิริยาที่ผูหญิงมีตอคําถามนี้จึงมักเปนการตอบรับไวกอน ไมวาผูหญิง
จะรูสึกอยางไรในความเปนจริงก็ตาม ทั้งนี้ก็เพื่อจะรักษาความสัมพันธให
ยืนยาว เพื่อแสดงความรับผิดชอบในเพศสัมพันธครั้งนั้น เพื่อจรรโลงอุดมการณ
ความเปนกุลสตรี และรักษาไวซึ่งความไรเดียงสาในเรื่องเพศ ดังเชนการเขียน
รณภูมิ สามัคคีคารมย