Page 57 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 57

มติคณะรัฐมนตรี                               เนื้อหา

              ๑๐ และ ๑๗ มีนาคม      นโยบายจำแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปา
              ๒๕๓๕                  สงวนแหงชาติ ทั่วประเทศใน ๒๑ ทองที่ของปาไมเขตจำนวน ๑,๒๒๐ ปา
                                    ใน ๖๓ จังหวัด ซึ่งจำแนกพื้นที่ปาออกเปน ๓ ประเภทคือ ๑) พื้นที่ปา

                                    อนุรักษ จำนวน ๘๘ ลานไร ๒) พื้นที่เพื่อการปฏิรูป จำนวน ๗.๒ ลานไร
                                    ๓) พื้นที่ปาเศรษฐกิจ จำนวน ๕๑ ลานไร
              ๔ พฤษภาคม ๒๕๓๖        กรณีราษฎรครอบครองทำประโยชนอยูกอนทางราชการประกาศเปนเขตปา
                                    ไม และการประกาศเขตปาดังกลาวทับที่ดินที่ราษฎรครอบครองอยู ให
                                    กระทรวงเกษตรและสหกรณเพิกถอนที่ดินสวนนั้นออกจากเขตปาไม และ
                                    ใหกรมที่ดินออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน  ถาราษฎรบุกรุก
                                    พื้นที่ปาไมภายหลังประกาศเขตปา ราษฎรไดสิทธิที่ดินในพื้นที่ปฏิรูปที่ดิน
                                    เทานั้น  พรอมกันนั้นใหยกเลิกมติ ครม. ที่ขัดแยงกับมติ ครม.นี้


              ๒๒ เมษายน ๒๕๔๐        มาตรการและแนวทางแกไขปญหาพื้นที่ปาไมทั่วประเทศ ซึ่งจำแนกดังนี้
                                         ๑) ปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี กำหนดเขตปาไมถาวรใหมให
                                    สอดคลองกับความเปนจริง โดยจำแนกเปนพื้นที่ทำกินหรือพื้นที่ใชประโยชน
                                    อยางอื่น และมอบให ส.ป.ก. และกรมที่ดินดูแลตอไป
                                         ๒) ปาสงวนแหงชาติ กรมปาไมมอบพื้นที่ให ส.ป.ก.ปฏิรูปที่ดิน ๔๔
                                    ลานไร ตามมติ ครม. ๔ พฤษภาคม ๒๕๓๖ ปรากฏวามีความคลาดเคลื่อน
                                    ของแผนที่ จึงใหกรมปาไมและ ส.ป.ก. ปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงและเรงรัด
                                    กำหนดเขตที่ดินโดยเร็ว
                                         ๓) ปาอนุรักษตามมติ ครม. วันที่ ๑๐ และ ๑๗ มีนาคม ๒๕๓๕
                                    เรงรัดดำเนินการปรับแนวเขตปาเพื่อการอนุรักษใหถูกตองและสอดคลอง
                                    กับภูมิประเทศ โดยไมมีปญหาความเดือดรอนของราษฎร ใหกรมปาไมจัดทำ
                                    แนวเขตใหชัดเจน และปองกันดูแลอยางเขมงวด
                                         ๔) ปาอนุรักษตามกฎหมาย เชน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุ

                                    สัตวปา และปาอนุรักษพื้นที่ลุมน้ำชั้น ๑ ชั้น ๒ กรมปาไมสำรวจจำนวน
                                    ราษฎรและพื้นที่ที่ครอบครองใหชัดเจน เพื่อเปนขอมูลจัดการเพื่อการ
                                    อนุรักษและการพัฒนาอยางยั่งยืน กำหนดขอบเขตพื้นที่ที่จะใหราษฎรอยู
                                    อาศัยและทำกินในพื้นที่ที่เหมาะสม ใหตั้งคณะกรรมการแกไขพื้นที่ปา
                                    อนุรักษในแตละพื้นที่ ประกอบดวยตัวแทนฝายราชการ และราษฎรฝายละ
                                    เทาๆ กันเพื่อตรวจสอบพิสูจนการรับรองสิทธิการอยูอาศัยทำกิน
                                         ๕) พื้นที่อื่นๆ เชนพื้นที่สวนปา ใหตั้งคณะทำงานตรวจสอบขอเท็จ
                                    จริง โดยมีฝายราชการและราษฎรฝายละเทาๆ กัน ตรวจสอบขอเท็จจริง
                                    และใหพิสูจนการอยูอาศัยครอบครองการทำประโยชนในพื้นที่ใหชัดเจนวามี
                                    มากอนหรือไม  ใหแกไขความเดือดรอนของราษฎร


                    เสียงจากประชาชน
            56      การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62