Page 61 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 61

มติคณะรัฐมนตรี                                เนื้อหา

                                         ๔) ปาอนุรักษตามกฎหมาย เชน อุทยานแหงชาติ เขตรักษา
                                    พันธุสัตวปา และปาอนุรักษพื้นที่ลุมน้ำชั้น ๑ ชั้น ๒ กรมปาไมสำรวจ
                                    จำนวนราษฎรและพื้นที่ที่ครอบครองใหชัดเจน เพื่อเปนขอมูลจัดการเพื่อ

                                    การอนุรักษและการพัฒนาอยางยั่งยืน กำหนดขอบเขตพื้นที่ที่จะใหราษฎร
                                    อยูอาศัยและทำกินในพื้นที่ที่เหมาะสม ใหตั้งคณะกรรมการแกไขพื้นที่ปา
                                    อนุรักษในแตละพื้นที่ ประกอบดวยตัวแทนฝายราชการ และราษฎรฝายละ
                                    เทาๆ กัน เพื่อตรวจสอบพิสูจนการรับรองสิทธิการอยูอาศัยทำกิน
                                         ๕) พื้นที่อื่นๆ เชนพื้นที่สวนปา ใหตั้งคณะทำงานตรวจสอบขอเท็จ
                                    จริง โดยมีฝายราชการและราษฎรฝายละเทาๆ กัน ตรวจสอบขอเท็จจริง
                                    และใหพิสูจนการอยูอาศัยครอบครองการทำประโยชนในพื้นที่ใหชัดเจนวามี
                                    มากอนหรือไม ใหแกไขความเดือดรอนของราษฎร

              ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖            มติคณะรัฐมนตรี อนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอ
                                    คณะรัฐมนตรีคณะที่ ๒ เห็นชอบใหยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่๑๕
                                    พฤษภาคม ๒๕๓๓ เฉพาะเรื่องสวนยางที่อยูในปาสงวนแหงชาติ และให
                                    กระทรวงเกษตรและสหกรณ (กรมปาไม) กำหนดเงื่อนไขและหลักเกณฑ
                                    การอนุญาตเขาทำประโยชนเฉพาะสวนยาง โดยมอบใหกระทรวงเกษตรและ

                                    สหกรณรวมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นำเสนอเรื่อง
                                    ดังกลาวเขาที่ประชุมคณะทำงานที่ทำหนาที่ศึกษาพิจารณามาตรการ หลัก
                                    เกณฑ และเงื่อนไขในการปลูกสรางสวนปาภาคเอกชนที่อยูภายใตคณะ
                                    กรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ หากคณะอนุกรรมการพิจารณามาตรการฯ
                                    เห็นชอบ ก็ควรกำหนดอนุญาตใหดำเนินการปลูกปาไมเกินรายละ ๓๐ ไร
                                    ในพื้นที่ดังกลาว
                                         มติคณะกรรมการบริหารกิจการองคการสวนยาง วันที่ ๑๑ ธันวาคม
                                    ๒๕๔๖ อนุมัติให อ.ส.ย. ทำการเชาสวนยางของเกษตรกรในเขตปาสงวน
                                    แหงชาติ เปนระยะเวลา ๓๐ ป และนำมาจัดสรรใหเกษตรกรเชาตอไมเกิน
                                    รายละ ๓๐ ไร


              ๑๓ มกราคม ๒๕๔๗        ครม. เห็นชอบในหลักการโครงการแปลงสวนยางเปนทุน ในวันที่ ๑๓
                                    มกราคม ๒๕๔๗ และใหดำเนินการตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ
                                    คณะรัฐมนตรีพิจารณาเมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๗ ใน ๔ เรื่องคือหลักการ
                                    โครงการ โดยให อ.ส.ย. เปนผูเขาทำประโยชนในสวนยางในปาสงวนฯ และ
                                    กรมวิชาการเกษตร ดำเนินโครงการ โดยรับงบประมาณป ๒๕๔๗-๒๕๕๑
                                    เปนเงิน ๓๔๗.๔๐ ลานบาทในการสำรวจรังวัดพื้นที่สวนยางทั้งหมดของ
                                    โครงการ ๖.๙ ลานไรๆ ละ ๕๐ บาท



                    เสียงจากประชาชน
            60      การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66