Page 62 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 62

มติคณะรัฐมนตรี                               เนื้อหา


                ๑๓ มกราคม ๒๕๔๗         ครม. เห็นชอบในหลักการโครงการแปลงสวนยางเปนทุน ในวันที่ ๑๓
                                       มกราคม ๒๕๔๗ และใหดำเนินการตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ
                                       คณะรัฐมนตรีพิจารณาเมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๗ ใน ๔ เรื่องคือหลักการ
                                       โครงการ โดยให อ.ส.ย. เปนผูเขาทำประโยชนในสวนยางในปาสงวนฯ และ
                                       กรมวิชาการเกษตร ดำเนินโครงการ โดยรับงบประมาณป ๒๕๔๗-๒๕๕๑
                                       เปนเงิน ๓๔๗.๔๐ ลานบาทในการสำรวจรังวัดพื้นที่สวนยางทั้งหมดของ
                                       โครงการ ๖.๙ ลานไรๆ ละ ๕๐ บาท

                                            โครงการแปลงสวนยางเปนทุน นำเสนอคณะรัฐมนตรี โดยหนังสือ
                                       ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๔๗  เพื่อแกไขปญหาใหเกษตรกรผูปลูกยางพารา
                                       เปาหมายรวม ๕๒๙,๙๘๕ รายใน ๑๗ จังหวัด พื้นที่สวนยาง ๖,๙๔๗,๙๓๑
                                       ไร ไดรับสิทธิและเขาถึงแหลงทุน โดยใหเอกชนผูมีใบอนุญาตเปนผูประเมิน
                                       มูลคาไมยาง มี อ.ส.ย.จัดระบบและนำไมยางทั้งหมดของโครงการเขาขอทุน
                                       จากสถาบันการเงิน และทำหนาที่เปน clearing house ใหกับสถาบันการ
                                       เงินที่จัดทุนใหเกษตรกร โดยกลุมเปาหมายชาวสวนยางแยกเปน ๒ กลุม

                                       คือ กลุมแรก ๔๓,๒๕๕ รายในเขตปาสงวนแหงชาติพื้นที่ประมาณ ๑ ลานไร
                                       แตไมมีสิทธิในการเปนเจาของไมยาง และไมสามารถเขาโครงการสงเคราะห
                                       การทำสวนยาง (สกย.) (เพราะไมมีเอกสารสิทธิจากปญหาเขตปาทับที่ทำกิน
                                       และการ reshape ไมเสร็จ) วิธีการคือเกษตรกรเขาโครงการสวนยางเอื้ออาทร
                                       ซึ่ง อ.ส.ย.เปนผูขอเขาทำประโยชน และนำมาจัดสรรใหเกษตรกรไมเกิน ๓๐
                                       ไรตอราย มีระยะเวลารวมโครงการ ๒๕ ป และ อ.ส.ย.จะเปนผูนำไมยาง
                                       พาราและน้ำยางออกจากปาเอง ตลอดจนรับซื้อไมยางจากเกษตรกรในราคา
                                       ไมต่ำกวาไรละ ๓๐,๐๐๐ บาท โดยกระบวนวิธีการคือ  ส.ก.ย.จะสำรวจรังวัด
                                       พื้นที่สวนยาง กรมวิชาการเกษตรจดทะเบียนและออกเอกสารสิทธิในนาม

                                       การยางแหงประเทศไทย (กยท.)ไดรับเอกสาร ๒ ประเภท คือ เอกสารสิทธิ
                                       รับรองสิทธิสวนยาง ( ก.ย.ท.๑) และเอกสารรับรองมูลคาไมยาง (ก.ย.ท.๒)
                                       ซึ่งสามารถนำไปขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินไดกลุมที่สอง เกษตรกรสวน
                                       ยางสงเคราะห ๔๘๖,๗๖๐ ราย (เปนกลุมที่มีเอกสารสิทธิ) ที่มีตนยางอายุ
                                       กวา ๑๕ ป พื้นที่ประมาณ ๕.๙ ลานไร และยังไมสามารถนำมูลคาของไม
                                       เขาสูแหลงทุนที่เปนระบบได สามารถสมัครเขารวมโครงการกับ อ.ส.ย.
                                       และไดรับเอกสารรับรองมูลคาไมยาง (ก.ย.ท.๒) ซึ่งสามารถนำไปขอสินเชื่อ

                                       จากสถาบันการเงินได







                                                                              เสียงจากประชาชน
                                                     “ที่ดินในเขตปาและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและปา”   61
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67