Page 275 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ: กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ
P. 275

โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ :1111
                                                                    กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ | 217

                                         243
               หนุ่มสาวท าให้เกิดอาการท้องผูกได้  ทั้งนี้ อาหารเป็นสิ่งจ าเป็นที่ขาดไม่ได้ แม้ผู้สูงอายุจะมีการเผาผลาญ
               พลังงานที่ลดลง แต่ยังคงมีความต้องการพลังงานและสารอาหารที่มีคุณภาพสูงเพื่อการด ารงชีวิตอย่างมี
               คุณภาพ จึงควรกินอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่อย่างเพียงพอและเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย
                                                                244
                         อาหารที่ผู้สูงอายุควรได้รับทุกวันควรเป็นอาหารต่อไปนี้
                             1. เนื้อสัตว์ เนื้อปลาและเนื้อไก่จะมีความนุ่มมากกว่าเนื้อชนิดอื่น แต่ควรระวังก้างปลา
               เนื่องจากการเคี้ยว การกลืน ไม่ดีเท่าในวัยหนุ่มสาว การปรุงเนื้อสัตว์ทุกชนิด ควรปรุงให้นุ่มพอที่จะเคี้ยวได้ด้วย

                             2. ถั่วเมล็ดแห้งควรปรุงสุกโดยการต้มให้เปื่อยนุ่ม
                             3. ผู้สูงอายุควรได้รับผักและผลไม้ทุกวัน เพื่อช่วยให้ร่างกายได้รับวิตามินและเกลือแร่ และ
               ควรต้มหรือหนึ่งให้สุกก่อน ผลไม้ควรเป็นผลไม้ที่มีเนื้อสัมผัสนุ่ม เคี้ยวง่าย เช่น มะละกอสุก กล้วยสุก แตงโม

               ส้ม น้ าผลไม้ ส่วนผลไม้ที่มีเนื้อแข็งควรน ามาปั่นหรือบดให้ละเอียดก่อน
                             4. ข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์ เช่น ข้าวสวย ข้าวต้ม ข้าวเหนียว ขนมจีน ก๋วยเตี๋ยว บะหมี่
               ขนมปัง ควรได้รับพอสมควร วันละ 3-4 ถ้วยตวง
                             5. ในผู้สูงอายุควรได้รับน้ าดื่มวันละ 30-35 มิลลิลิตรต่อน้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม ประมาณ
               6-8 แก้วต่อวัน


                         ส่วนด้านที่อยู่อาศัยจะต้องจัดสิ่งอ านวยความสะดวกให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย
               ส่วนประกอบที่ติดตั้งภายในอาคารและภายนอกอาคารเพื่ออ านวยความสะดวกในการใช้อาคารส าหรับผู้สูงอายุ

               ซึ่งส าคัญต่อการใช้บริการของผู้สูงอายุ เพราะอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นมักเกิดจากสภาพสิ่งแวดล้อมที่ผู้สูงอายุอาศัยอยู่
               ไม่มีความเหมาะสม ทั้งนี้ สิ่งอ านวยความสะดวกในที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุคือสิ่งที่ผู้สูงอายุคุ้นเคยหรือใช้งาน
                                                          245
               เป็นประจ า ซึ่งสามารถจ าแนกออกเป็น 8 องค์ประกอบ ได้แก่
                             1. ทางเดินเข้าบ้าน (จากประตูรั้ว ถึงประตูหลัก)

                             2. บันไดภายนอก
                             3. ทางลาด
                             4. ประตูหลัก (ประตูเข้าบ้าน)
                             5. บันไดภายในบ้าน

                             6. ห้องนอนผู้สูงอายุ
                             7. ห้องน้ าผู้สูงอายุ
                             8. ทางเดินภายในบ้าน (จากประตูหลักถึงห้องนอนและห้องน้ า)


                    243 จาก อาหารผู้สูงอายุ, โดย สุพัตรา แสงรุจิ, 2555, สืบค้นจาก http://www.si.mahidol.ac.th/th/division/hph/
               admin/news_files/145_49_1.pdf
                    244 จาก อาหารส าหรับผู้สูงอายุ, โดย โรงพยาบาลราชวิถี, ม.ป.ป., สืบค้นจาก http://110.164.68.234/nutrition/
               index.php?option=com_content&view=article&id=8:2012-06-23-09-54-15&catid=10:-10
                    245 จาก คู่มือการจัดสิ่งอ านวยความสะดวก โครงการ “การจัดการความรู้อาคาร – สถานที่ ที่เป็นมิตรส าหรับผู้สูงอายุ”
               (น. 3), โดย ไตรรัตน์ จารุทัศน์, 2556, กรุงเทพมหานคร: สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).
   270   271   272   273   274   275   276   277   278   279   280