Page 66 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 66
ส�าหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไปประยุกต์ใช้ในระดับ 2) การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์และสื่อการเรียนรู้
ปฐมวัย - ระดับมัธยมศึกษา ในเขตพื้นที่ภาคกลางและ ส�าหรับการสร้างความตระหนักรู้เรื่องสิทธิมนุษยชน
กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ครูผู้สอนมีความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่สังคม ส�านักงาน กสม. ได้จัดท�าการรณรงค์ผ่านการ
จนเกิดความตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชน สามารถ สื่อสารสาธารณะในหัวข้อ “รักไม่ละเมิด” ซึ่งเกี่ยวข้อง
เป็นต้นแบบบุคลากรทางการศึกษาและเป็นเครือข่าย กับสิทธิในการก�าหนดเจตจ�านงในชีวิตของเด็กและ
การเรียนรู้และการด�าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน เยาวชน และ “จับอย่างระวัง” ซึ่งเป็นการสร้างความ
ศึกษาในระดับภูมิภาค ระหว่างวันที่ 2 - 4 มีนาคม 2565 ตระหนักรู้เรื่องสิทธิผู้ต้องหาและสิทธิในกระบวนการ
ณ โรงแรมเซ็นทรา บาย เซ็นทารา ศูนย์ราชการ และ ยุติธรรมเพื่อสนับสนุนให้ร่างพระราชบัญญัติป้องกัน
คอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพมหานคร และระหว่าง และปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคล
วันที่ 9 - 11 กันยายน 2565 ณ ห้องแก้วเจ้าจอม สูญหาย ได้รับความเห็นชอบและมีผลใช้บังคับได้จริง และ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี จังหวัดชลบุรี ยังมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ผู้แทนหน่วยงานรัฐ
และภาคประชาสังคมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
3.4.2 การสื่อสารข้อมูลข่าวสารด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีกรณีร้องเรียนจ�านวนมากให้ร่วมเป็น
ผ่านรายการวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ การออกแถลงการณ์ เครือข่ายการท�างานด้านสิทธิมนุษยชนที่เข้มแข็ง
เกี่ยวกับสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนที่สำาคัญ นอกจากนี้ กสม. ได้จัดจ้างและสนับสนุนให้ YouTuber
และการแถลงข่าวเด่นประจำาสัปดาห์ และ Influencer จัดท�าหรือเผยแพร่เนื้อหาที่สอดแทรก
1) การส่งเสริมสิทธิมนุษยชนผ่านทางสถานี การรณรงค์และสร้างความตระหนักรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
วิทยุกระจายเสียง จ�านวน 23 ราย
1.1) ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนผ่านทางสถานีวิทยุ
กระจายเสียงส�าหรับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ส.ทร. FM 106 MHz
วิทยุครอบครัวข่าว) โดยเผยแพร่สปอตวิทยุ
การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และการสัมภาษณ์
ออกอากาศในรายการวิทยุ ในช่วงรายการต่าง ๆ
ของทางสถานี เช่น รายการเรื่องเล่าเช้านี้ รายการ
โหนกระแส เป็นต้น
1.2) ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนผ่านทางสถานีวิทยุ
กระจายเสียงส�าหรับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ภูมิภาค
(สวท. FM 92.5 MHz สถานีวิทยุกระจายเสียง กสม. ยังได้ร่วมกับมูลนิธิฟรีดริช เนามัน ประเทศไทย
แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์) ได้แก่ เผยแพร่ จัดท�าสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง กติการะหว่าง
สปอตวิทยุและการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ในช่วงเวลาข่าวภาคหลักและช่วงรายการข่าวยามเช้า (ICCPR) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งหวังให้เยาวชนและ
ประชาชนได้เรียนรู้และเข้าใจสิทธิผ่านการให้ความรู้
1.3) การเผยแพร่รายการวิทยุ “รายการคุยกับ พื้นฐานเกี่ยวกับ ICCPR และหลักการสิทธิมนุษยชน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ” ทางสถานี ที่เกี่ยวข้อง และมีการทดสอบความคิดเห็นและ
วิทยุกระจายเสียงรัฐสภา (FM 87.5 MHz) ทุกวันพุธ ความเข้าใจของผู้ใช้งานผ่านสถานการณ์จ�าลอง
เวลา 21.00 นาฬิกา ที่อ้างอิงจากประเด็นสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ที่เกิดขึ้นจริงในสังคม โดยมีรูปแบบเนื้อหาแบ่งออกเป็น
64