Page 64 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 64
การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ ในด้านสิทธิของกลุ่มบุคคล เป็นการประเมินสถานการณ์
สังคม และวัฒนธรรม ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ สตรี
สิทธิแรงงาน ทั้งแรงงานในระบบ แรงงานนอกระบบ รวมถึงความเสมอภาคระหว่างเพศ ผู้มีปัญหาสถานะ
แรงงานข้ามชาติ รวมถึงแรงงานในอุตสาหกรรม และสิทธิ และสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ โดยมีประเด็นส�าคัญ
ประมง สิทธิด้านสุขภาพ อาทิ การเข้าถึงบริการ เช่น การพัฒนาเด็กปฐมวัย ปัญหาเด็กถูกกระท�าด้วย
สาธารณสุขของกลุ่มเฉพาะ และปัญหาสุขภาพจิต ความรุนแรง ถูกล่วงละเมิดทางเพศ และถูกกลั่นแกล้ง
สิทธิด้านการศึกษา ได้แก่ ปัญหาเด็กหลุดจากระบบ (bully) ทั้งในโรงเรียนและทางโซเชียลมีเดีย การคุ้มครอง
การศึกษา การส่งเสริมการประกอบธุรกิจที่เคารพ สิทธิในสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุที่ท�างาน การจัดระบบ
สิทธิมนุษยชน และประเด็นเกี่ยวกับสิทธิชุมชน ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างทั่วถึง การเพิ่มเบี้ยความพิการ
ในบริบทของการบริหารทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ ส�าหรับเด็กและผู้มีรายได้น้อย การเข้าถึงบริการและ
การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าอนุรักษ์ ปัญหาที่อยู่อาศัย สิทธิด้านต่าง ๆ ของคนพิการ การเข้าถึงการยุติการ
และที่ท�ากินของกลุ่มชาติพันธุ์ และการด�าเนิน ตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
โครงการของรัฐที่มีผลกระทบต่อชุมชน การส่งเสริมความเท่าเทียมของกลุ่มบุคคลหลากหลาย
ทางเพศในเรื่องการจ้างงาน และการเพิ่มประสิทธิภาพ
การด�าเนินงานให้สถานะ/สัญชาติแก่คนไร้รัฐกลุ่มต่าง ๆ
เป็นต้น
QR code: รายงานผลการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยประจ�าปี 2564
3.3.2 การจัดทำารายงานผลการประเมิน ในด้านต่าง ๆ เสนอต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และ
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทย เผยแพร่ต่อประชาชนตามที่กฎหมายก�าหนดต่อไป
ประจำาปี 2565
กสม. ได้จัดท�าแผนการจัดท�ารายงานตามที่ก�าหนด 3.4 การสร้างเสริมทุกภาคส่วนของ
ในมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ สังคมให้ตระหนักถึงความสำาคัญ
ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 ของสิทธิมนุษยชน
ที่มีเค้าโครงประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1) สถานการณ์
ด้านสิทธิทางการเมืองและสิทธิพลเมือง 2) สถานการณ์ การสร้างเสริมทุกภาคส่วนของสังคมให้ตระหนักถึง
ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง และ ความส�าคัญของสิทธิมนุษยชนเป็นหนึ่งในหน้าที่และ
3) สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล โดยมี อ�านาจของ กสม. ที่ก�าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
การลงพื้นที่เพื่อติดตามสถานการณ์สิทธิมนุษยชน แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ซึ่งสอดคล้องกับ
ด้านต่าง ๆ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2565 เป็นต้นมา เพื่อ บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตาม
น�ามาประมวลวิเคราะห์และเปรียบเทียบกับหลักการ หลักการปารีสที่ต้องมุ่งด�าเนินการด้านการส่งเสริม
และพันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของไทยแล้วจัดท�า สิทธิมนุษยชน (Promotional Function) กสม. ได้
เป็นรายงานผลการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ปฏิบัติหน้าที่โดยการจัดกิจกรรมในรูปแบบที่หลากหลาย
ของประเทศไทยในปี 2565 รวมทั้งจัดท�าข้อเสนอแนะ และเหมาะสมในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ผ่านช่องทาง
แนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสื่อสารในหลายรูปแบบ โดยมีการด�าเนินงาน
62