Page 75 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 75

๓.๑.๒ การไกล่เกลี่ยและการประสานการ มอบเงินเยียวยาด้านความรู้สึกแก่ผู้ร้องเป็นจ�านวน
              คุ้มครองสิทธิมนุษยชน                             ๒๕๐,๐๐๐ บาท และจะปรับปรุงแก้ไขระบบการให้บริการ      1
              ๑) การไกล่เกลี่ยเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชน        เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่อาจจะเกิดขึ้น
                                            ๑๕
                 พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๗  ได้รับรองอ�านาจ จากนั้น กสม. จึงมติให้ยุติเรื่อง                       2
              หน้าที่เรื่องการไกล่เกลี่ยไว้ ซึ่งดังที่ได้กล่าวไว้แล้ว กสม.
              ชุดที่ ๓ ได้ศึกษาและพัฒนาระบบการไกล่เกลี่ยเพื่อคุ้มครอง  ๒) การประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน         3
              สิทธิมนุษยชน โดยก�าหนดเป็นระเบียบในเรื่องนี้โดยเฉพาะ   ระเบียบ กสม. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการ

              จัดท�าหลักสูตรและฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ส�านักงาน กสม.   ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน พ.ศ. ๒๕๖๑ และ
                                                                                          ๑๖
              รวมทั้งน�าพาผู้เข้ารับการฝึกอบรมไปศึกษาดูงานด้าน  ที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๑๕ วรรคสาม  ก�าหนดให้เจ้าหน้าที่  4
              การไกล่เกลี่ยของ กสม. สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) และดูงาน  รับเรื่องร้องเรียนอาจด�าเนินการประสานในการคุ้มครอง
              การไกล่เกลี่ยของคณะกรรมาธิการอนุญาโตตุลาการด้านสื่อ   สิทธิมนุษยชนแก่ผู้ร้องได้ ส�าหรับกรณีการประสาน   5
              สาธารณรัฐเกาหลี โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ผู้ร้องเรียนที่ส�าคัญและเป็น
              มูลนิธิฟรีดริช เนามัน (Friedrich Naumann Foundation)   ที่น่าสนใจบางกรณี ดังนี้ ๑๗
              และเปิดศูนย์ไกล่เกลี่ยประจ�าส�านักงาน กสม. รวมทั้ง
              ได้ด�าเนินการไกล่เกลี่ย โดยมีกรณีตัวอย่าง ดังนี้  กรณีที่  ๑  การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม  กรณี
                                                               นักท่องเที่ยวชาวเคนยาถูกส่งตัวกลับออกไปจาก

                 รายงานผลการไกล่เกลี่ย ที่ ๑๒๗/๒๕๖๐ กรณี ประเทศไทยโดยผิดกฎหมาย
              กล่าวอ้างว่าโรงพยาบาลรัฐแห่งหนึ่งปฏิเสธการร้องขอ    ผู้ร้องเป็นบรรณาธิการประจ�าประเทศไทยของเว็บไซต์
              ให้ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) เป็นเหตุให้ ข่าวต่างประเทศแห่งหนึ่ง ได้ร้องเรียนต่อ กสม. ทางจดหมาย
              วินิจฉัยโรคผิดพลาด โดย กสม. ได้รับการร้องเรียนกล่าว อิเล็กทรอนิกส์ โดยกล่าวอ้างว่า ผู้เสียหายที่ ๑ และผู้เสียหาย
              อ้างว่า เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๙ ผู้ร้องและภรรยา ที่ ๒ เป็นนักท่องเที่ยวชาวเคนยา ถูกส่งตัวกลับออกไปจาก
              ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ภรรยาได้รับบาดเจ็บที่ต้นคอ  ประเทศไทยโดยผิดกฎหมาย เนื่องจากผู้ถูกร้อง (สายการบิน
              ลุกนั่งไม่ได้ มีอาการชาที่มือ และถูกน�าตัวส่งโรงพยาบาล แห่งหนึ่งในประเทศไทย) แจ้งกับสายการบินต่างประเทศ

              รัฐแห่งหนึ่ง โดยแพทย์ได้เอกซเรย์ (X-RAY) และวินิจฉัยว่า แห่งหนึ่งว่า ผู้เสียหายทั้งสองถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าเมือง
              ไม่พบความผิดปกติ แม้ภรรยาขอให้แพทย์ตรวจเอกซเรย์ ที่ด่านตรวจคนเข้าเมือง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งไม่เป็น
              คอมพิวเตอร์ (CT Scan) ก็ถูกปฏิเสธประมาณ ๒ ครั้ง   ความจริง นอกจากนั้น ยังขอให้แสดงหลักฐานทางการเงิน
              ต่อมาโรงพยาบาลสกลนคร ได้ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์  ซึ่งผู้ถือหนังสือเดินทางสาธารณรัฐเคนยาไม่จ�าเป็นต้อง ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              พบความผิดปกติที่กระดูกต้นคอ และได้ตรวจเอกซเรย์ แสดงหลักฐานดังกล่าว ผู้เสียหายทั้งสองเห็นว่าตน
              ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) แล้วรักษาด้วยการผ่าตัด ถูกเหยียดเชื้อชาติ อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
              ในวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๙ หลังการผ่าตัด ผู้ร้อง  จึงปรึกษาทนายความและประสงค์ที่จะยื่นค�าร้องต่อ กสม.
              ได้แจ้งข้อมูลให้โรงพยาบาลรัฐดังกล่าวทราบและขอให้ และนายกรัฐมนตรี ผ่านสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี
              เยียวยา ซึ่งโรงพยาบาลฯ ทราบเรื่องและแจ้งว่าจะแต่งตั้ง  สาธารณรัฐเคนยา ผู้ร้องจึงขอทราบช่องทางการร้องเรียน

              คณะกรรมการสอบสวน                                 และข้อคิดเห็นของ กสม.


                 กสม. พิจารณาแล้วเห็นว่า ค�าร้องดังกล่าวครบ       จากการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมพบว่า เมื่อวันที่ ๑๙
              องค์ประกอบที่จะไกล่เกลี่ยตาม พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒  ตุลาคม ๒๕๖๒ ผู้ร้องได้เขียนข่าวลงเว็บไซต์ข่าวแห่งหนึ่ง
              มาตรา ๒๗ และระเบียบ กสม. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ สรุปได้ว่า เมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๖๒ ผู้เสียหายทั้งสอง
              และวิธีการไกล่เกลี่ย พ.ศ. ๒๕๕๙ จึงได้มอบหมายให้  ถูกปฏิเสธไม่ให้ขึ้นเครื่องบินของผู้ถูกร้อง เที่ยวบินจาก
              คณะอนุกรรมการด้านการไกล่เกลี่ย ด�าเนินการไกล่เกลี่ย  กรุงเทพมหานครไปยังกรุงพนมเปญ โดยพนักงานของ

              จนทั้งสองฝ่ายสามารถตกลงกันได้ ปัญหาของผู้ร้องได้รับ  ผู้ถูกร้องขอให้ผู้เสียหายทั้งสองเท่านั้นแสดงเงิน จ�านวน
              การดูแลที่เหมาะสมโดยโรงพยาบาลฯ จะพิจารณา  ๒,๐๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ ๖๐,๔๐๐ บาท)



                                                                                                                 73
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80