Page 80 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 80

และสถานีต�ารวจภูธรบางสวรรค์ จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจ  ซึ่งการด�าเนินการของหน่วยงานภาครัฐมีความคืบหน้า
            ในเครื่องแบบเข้าไปดูแลความเรียบร้อยของชุมชน  อย่างต่อเนื่องภายใต้นโยบายการจัดที่ดินท�ากินให้ชุมชน
            อย่างต่อเนื่อง  และขอให้ประสานกับกรมคุ้มครอง  ตามนโยบายรัฐบาล โดยคณะกรรมการนโยบายที่ดิน
            สิทธิและเสรีภาพในการเข้ามาคุ้มครองบุคคลที่ถูกคุกคาม แห่งชาติ (คทช.) แต่ยังมีความยุ่งยาก ซับซ้อน และ
            ชีวิตในลักษณะการคุ้มครองพยาน โดยหารือมาตรการ มีข้อจ�ากัดด้านกฎหมายที่ต้องเร่งด�าเนินการ และจะใช้
            รักษาความปลอดภัยร่วมกับประชาชนชุมชนสันติพัฒนา    กลไก คทช. จังหวัด ด�าเนินการแก้ไขปัญหา เพื่อให้เกิดการ
            เพื่อก�าหนดแนวทางการคุ้มครองที่เหมาะสมต่อไป      ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของประชาชนต่อไป



                ต่อมา เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ กรรมการ ๓.๑.๓ การตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริง
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้ลงพื้นที่เพื่อประชุมร่วมกับรอง เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน
            ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี และผู้แทนหน่วยงาน  ๑) การตรวจสอบและจัดทำารายงานผลการตรวจสอบ
            ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ข้อสรุปว่า   กสม. ชุดที่ ๓ ได้ด�าเนินการตรวจสอบและรายงาน
            การดูแลรักษาความปลอดภัยสมาชิก สกต. อ�าเภอพระแสง  ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยมุ่งหมาย
            และสถานีต�ารวจภูธรบางสวรรค์ ได้ให้ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน  ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่ต�ารวจ  ตามที่รับรองไว้ใน พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๓๓
            ด�าเนินการตรวจตราพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ส�าหรับประเด็น  โดยได้ด�าเนินการตรวจสอบและจัดท�ารายงานการตรวจสอบ

                                                                              ๑๘
            การติดตั้งตู้แดงเพื่อตรวจตราในพื้นที่เสี่ยงอันตราย  จ�านวน ๒,๑๐๘ ฉบับ  เป็นรายงานที่พบว่ามีการละเมิด
            หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะรับไปพิจารณาด�าเนินการตาม สิทธิมนุษยชน จ�านวน ๒๗๙ ฉบับ และเป็นรายงาน
            ความเหมาะสมต่อไป                                 ที่ยุติเรื่อง จ�านวน ๑,๘๒๙ ฉบับ สาเหตุของการยุติเรื่อง
                                                             มากที่สุด คือ กรณีไม่พบประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                นอกจากนี้ ได้มีการหารือแนวทางการแก้ไขปัญหา จ�านวน ๗๗๖ ฉบับ คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๘๑ ของรายงาน
            การจัดสรรที่ดินให้กับเกษตรกรที่ครอบครองพื้นที่ ส.ป.ก.  การตรวจสอบทั้งหมด รายละเอียดตามตารางที่ ๓.๒
            พื้นที่ป่าสงวน และพื้นที่ราชพัสดุ ของสมาชิก สกต.



            ตารางที่ ๓.๒ ผลการพิจารณาเรื่องร้องเรียน/เรื่องที่ กสม. เห็นควรหยิบยกขึ้นตรวจสอบ


                                                                                       จำ�นวน
                                          ก�รพิจ�รณ�                                              ร้อยละ
                                                                                       (ฉบับ)

             ๑.  มีประเด็นการละเมิด                                                        ๒๗๙      ๑๓.๒๔

                •  มีมาตรการหรือแนวทางป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดฯ                            ๙๖        ๔.๕๕
                •  มีมาตรการหรือแนวทางป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดฯ และมาตรการหรือแนวทาง
                   ในการส่งเสริมและคุ้มครองฯ                                               ๑๘๓        ๘.๖๘

             ๒.  ยุติเรื่อง/ไม่รับเป็นค�าร้อง                                            ๑,๘๒๙      ๘๖.๗๖

                •  ไม่พบประเด็นการละเมิด                                                   ๗๗๖      ๓๖.๘๑
                •  เป็นคดีอยู่ในศาลหรือศาลพิพากษา/มีค�าสั่งเด็ดขาดแล้ว                      ๙๗        ๔.๖๐







            ๑๘  เป็นการตรวจสอบค�าร้องจ�านวน ๒,๕๐๑ ค�าร้อง เหตุที่มีจ�านวนรายงานน้อยกว่าค�าร้องที่ตรวจสอบ เนื่องจากรายงานหลายฉบับเป็นการตรวจสอบค�าร้อง
            หลายเรื่องที่มีประเด็นท�านองเดียวกันรวมเข้ามาไว้ในรายงานฉบับเดียวกัน



       78
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85