Page 202 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 202
ในการครอบครองที่อยู่อาศัย (Security of Tenure) ให้ภาคเอกชนลงทุนประกอบกิจการให้บริการที่อยู่อาศัย
การจัดท�าแผนพัฒนาสภาพแวดล้อมในที่อยู่อาศัย ส�าหรับผู้สูงอายุและสถานที่ดูแลผู้สูงอายุ และลงทุน
ของผู้สูงอายุให้ด�าเนินชีวิตได้อย่างปลอดภัยตามหลัก พัฒนาเครื่องมือสื่อสาร หรือแอปพลิเคชัน ในการอ�านวย
อารยสถาปัตย์ (Universal Design) สิทธิด้านสุขภาพ ความช่วยเหลือและเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
โดยก�าหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ที่ครอบคลุมทั้งบุคลากรและสถานที่ที่สอดคล้องกับระดับ (๒) สิทธิด้านสุขภาพ
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของผู้สูงอายุ ฯลฯ คณะรัฐมนตรี ควรสนับสนุนการด�าเนินงาน
การคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ
๓.๒) ข้อเสนอแนะเชิงมาตรการทางบริหารเพื่อส่งเสริม ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวให้เหมาะสมตามระดับ
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
และคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ ความสามารถในการช่วยเหลือตนเองทั้งในสถานการณ์ปกติ
๓.๒.๑) คณะรัฐมนตรี ควรสนับสนุนกลไกระดับ และสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคติดต่ออันตราย
ท้องถิ่นเป็นหน่วยงานด�าเนินงานในเชิงพื้นที่เพื่อส่งเสริม โดยทบทวนระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อให้ผู้สูงอายุ
คุ้มครองสิทธิและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุภายใต้ เข้าถึงบริการด้านการดูแลระยะยาวของระบบหลักประกัน
ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายและแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ สุขภาพแห่งชาติ จัดให้มีบุคลากรทางการแพทย์ให้บริการ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
เพื่อจะได้ด�าเนินงานด้านผู้สูงอายุในเชิงพื้นที่ ด้านสุขภาพได้อย่างเพียงพอ ให้ผู้สูงอายุกลุ่มเปราะบาง
ที่ไร้สัญชาติและไม่มีชื่อในระบบทะเบียนราษฎรได้เข้าถึง
๓.๒.๒) คณะรัฐมนตรี ควรพิจารณามอบหมาย สิทธิในการรับบริการด้านสาธารณสุขของรัฐอย่างทั่วถึง
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ สนับสนุน
ในฐานะหน่วยงานประสานหลัก ด�าเนินงานคุ้มครอง การฝึกอบรมอาสาสมัครครอบครัว และด�าเนินงานระบบ
ส่งเสริมและสนับสนุนสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ให้กับผู้สูงอายุ การติดตามดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
สร้างความตระหนักในการมีส่วนร่วมในการคุ้มครองสิทธิ
ของผู้สูงอายุภายใต้สถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทั้ง (๓) สิทธิในหลักประกันรายได้
ส่งเสริมให้เกิดจิตอาสาในการให้บริการช่วยเหลือและ คณะรัฐมนตรี ควรสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้เข้าถึงสิทธิ
คุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ ในหลักประกันรายได้ ด้วยการสนับสนุนการออมตามระดับ
ความสามารถเพื่อให้มีเงินออมที่เพียงพอต่อการด�ารงชีวิต
๓.๒.๓) การด�าเนินงานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ หลังพ้นการท�างาน และสร้างความยั่งยืนทางการเงิน
ผู้สูงอายุเฉพาะด้าน รวม ๗ ด้าน ดังนี้ ของกองทุนการออมภาคบังคับ โดยมอบหมายให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องให้ความรู้ด้านการเงินและสิทธิประโยชน์
(๑) สิทธิในที่อยู่อาศัย ที่จะได้รับ และสร้างมาตรการจูงใจในการออมให้กับ
คณะรัฐมนตรี ควรสนับสนุนการด�าเนินงานที่สอดคล้อง ประชาชน
ตามแนวคิด “การตรึงผู้สูงอายุให้อยู่กับชุมชน” เพื่อให้
ผู้สูงอายุยังคงใช้ชีวิตในชุมชนและสังคมได้โดยอิสระ (๔) สิทธิในการท�างาน
โดยมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความช่วยเหลือ คณะรัฐมนตรี ควรสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้เข้าถึงสิทธิ
ในการปรับปรุงซ่อมแซมที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ จัดหา ในท�างานและมีสภาพการท�างานที่เหมาะสมเพื่อจะได้
ที่อยู่อาศัยให้กับผู้สูงอายุในรูปแบบสัญญาเช่า และ ท�างานได้ต่อเนื่องตราบเท่าที่ยังต้องการและสามารถ
จัดสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุให้สามารถ สร้างผลิตผลในการท�างานได้ โดยมอบหมายให้หน่วยงาน
ด�าเนินชีวิตได้อย่างปลอดภัยตามหลักอารยสถาปัตย์ ที่เกี่ยวข้องศึกษาความต้องการท�างานของผู้สูงอายุ
พิจารณาจัดระบบการขนส่งมวลชนที่ค�านึงถึงการเข้าถึงได้ ประเภทของงาน ชั่วโมงการท�างาน และความต้องการ
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ส่งเสริมสนับสนุน แรงงานผู้สูงอายุในตลาดแรงงาน
200