Page 20 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 20
เป็นรายสัปดาห์ รวมทั้งได้จัดท�าเป็นข้อเสนอแนะ การท�างานของ กสม. และส�านักงาน กสม. รวมทั้ง
ไปยังคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดการต่อการชุมนุม ได้แบ่งขอบเขตความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละคน
ตามหลักสิทธิมนุษยชน ที่ชัดเจนขึ้น ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา การแบ่งขอบเขต
ความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละคนนอกจากควร
บทที่ ๕ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ค�านึงถึงมิติด้านพื้นที่และประเด็นแล้ว ควรพิจารณา
โดยสังเคราะห์ปัญหาอุปสรรค ข้อจ�ากัด พร้อมจัดท�า ให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับมิติด้านคุณสมบัติตาม
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ดังนี้ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๘ และมิติด้านหน้าที่และ
อ�านาจตามมาตรา ๒๖ ประกอบด้วย
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ด้านที่ ๑ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ กสม. ประกอบด้วย ด้านที่ ๓ การพัฒนาการด�าเนินงานตามหน้าที่
การปฏิบัติงานตามหน้าที่และอ�านาจในรัฐธรรมนูญ และอ�านาจในมาตรา ๒๖ และ ๒๗ ของ พ.ร.ป. กสม.
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๕๖๐ กล่าวคือ ได้ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
๒๔๗ (๔) และ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ (๔) การท�างานตามหน้าที่และอ�านาจ โดยเฉพาะ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
และข้อจ�ากัดด้านกฎหมายในกรณีการด�าเนินการไกล่เกลี่ย การตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
และ/หรือประนีประนอมข้อพิพาทในด้านสิทธิมนุษยชน การละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกกรณีโดยไม่ล่าช้า โดยเน้น
โดยมีข้อเสนอเพื่อการพัฒนา เช่น การด�าเนินการ การตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง
อย่างต่อเนื่องเพื่อขอให้ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และท�าความจริงให้ปรากฏโดยไม่ล่าช้า มีการศึกษา
หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องสนับสนุนการแก้ไข และวิเคราะห์ให้ทราบถึงสาเหตุของการละเมิด
เพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช สิทธิมนุษยชน เพื่อน�าไปสู่การแก้ไขปัญหาและป้องกัน
๒๕๖๐ โดยให้ยกเลิกบทบัญญัติในมาตรา ๒๔๗ (๔) มิให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรื่องนั้นหรือ
โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ลักษณะเดียวกันนั้นอีก อย่างไรก็ตาม พบว่ามีข้อจ�ากัด
ฉบับนี้ ซึ่งอยู่ระหว่างการด�าเนินการ หรือแยกพิจารณา บางประการเกี่ยวกับการน�าเทคโนโลยีสารสนเทศ
แก้ไขเฉพาะมาตรานี้ และการติดตามการทบทวน เพื่อสนับสนุนการด�าเนินงานในการส่งเสริมและ
การขอให้แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ โดย คุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามหน้าที่และอ�านาจของ กสม.
เพิ่มเติมบทบัญญัติให้ กสม. มีหน้าที่และอ�านาจ ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา กสม. และส�านักงาน กสม.
ในการไกล่เกลี่ย อาจพิจารณาให้ความส�าคัญในการจัดสรร ทรัพยากร
ที่จ�าเป็น ในการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของส�านักงาน
ด้านที่ ๒ การใช้มาตรการด้านกฎหมายและ กสม. ส�าหรับจัดเก็บและเรียกใช้ข้อมูล ที่ทุกคน
การบริหารในการผลักดันให้เกิดการส่งเสริมและ สามารถเข้าถึงได้ อ่านเข้าใจได้ง่าย มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยได้เสนอความเห็นเกี่ยวกับ และพร้อมน�ามาใช้ประโยชน์ รวมทั้งพัฒนาทักษะ
หน้าที่และอ�านาจของ กสม. ที่สอดคล้องตามหลัก ที่จ�าเป็นและเกี่ยวข้องให้แก่เจ้าหน้าที่
การปารีส ไปยังคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ
(นายมีชัย ฤชุพันธ์ เป็นประธาน) ระหว่างการยกร่าง นอกจากนี้ มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช .... กลไกภาครัฐในการส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคม
และร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย ให้ตระหนักถึงความส�าคัญของสิทธิมนุษยชน และ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. .... การขยายขอบเขตหน้าที่และอ�านาจในการคุ้มครอง
การออกระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับส�าหรับเป็นกรอบ ส่งเสริม และเฝ้าระวังสิทธิมนุษยชนไปสู่ส่วนภูมิภาค
18