Page 19 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 19
1
ประเทศ เพื่อเผยแพร่ผลส�าเร็จในการด�าเนินการเรื่องนี้ ของกรมราชทัณฑ์ และน�าข้อค้นพบที่ได้มาจัดท�าเป็น
ของประเทศไทย รวมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ข้อเสนอแนะต่อกรมราชทัณฑ์ โดยมีข้อเสนอแนะ
กับประเทศอื่น การจัดให้มีการศึกษาวิจัยที่ส�าคัญและ ที่ส�าคัญเกี่ยวกับปัญหาความแออัดของเรือนจ�า 2
น�าผลจากการศึกษามาปรับใช้ เช่น รายงานการวิจัย และจ�านวนบุคลากรราชทัณฑ์ที่ไม่เพียงพอ และปัญหา
เรื่อง การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน การให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขในเรือนจ�า 3
และการน�าข้อค้นพบที่ได้จากการจัดกิจกรรมและ เป็นต้น
การศึกษาวิจัยไปใช้ขยายผล โดยจัดท�าเป็นข้อเสนอแนะ
เสนอต่อคณะรัฐมนตรี ๕) สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็น 4
โครงการภายใต้แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไข
๓) การปฏิบัติที่เป็นธรรมต่อกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้มีปัญหา ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม 5
สถานะและสิทธิสตรี กรณีผู้สูงอายุได้น�ากระบวนการ และเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจหลักการสิทธิมนุษยชน
“การไต่สวนสาธารณะ (public inquiry)” มาใช้ ในบริบทสถานการณ์ในพื้นที่ ประกอบด้วยกิจกรรมส�าคัญ
ในการศึกษาและจัดท�าข้อเสนอแนะ และได้จัดท�า เช่น การจัดฝึกอบรมความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนให้แก่
ข้อเสนอแนะที่ส�าคัญเสนอต่อคณะรัฐมนตรี โดยมี เยาวชนและบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
ข้อเสนอแนะโดยละเอียดและครอบคลุมมิติของผู้สูงอายุ และเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายในพื้นที่ รวมถึง
อย่างรอบด้าน ส่วนผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิได้มี การจัดท�าคู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่
การจัดท�าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการพิสูจน์ ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้
และรับรองความเป็นคนไทยพลัดถิ่นกับหน่วยงานหลายแห่ง
ทั้งที่เป็นหน่วยงานของรัฐที่เป็นหน่วยงานหลักในเรื่องนี้ ๖) ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนในสถานการณ์
สถาบันการศึกษา และภาคประชาชน รวมทั้งได้จัด การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
กิจกรรมที่ส�าคัญหลายประการภายใต้บันทึกข้อตกลง (COVID-19) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับ กระบวนการท�างาน
ความร่วมมือดังกล่าว โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลคนไทย ของ กสม.ชุดที่ ๓ ภายใต้ข้อจ�ากัดในสถานการณ์
พลัดถิ่น ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ส�าหรับน�ามา ดังกล่าว โดยได้จัดให้มีกระบวนการเฝ้าระวังและ
ประกอบการพัฒนาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของสตรี ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และให้มีการรายงาน
ได้จัดท�าข้อเสนอแนะ เรื่อง การยุติการตั้งครรภ์เพื่อให้ ทุก ๑๕ วัน การออกแถลงการณ์และเอกสารข่าว
สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ความรู้ในประเด็นสิทธิมนุษยชน รวมถึงการแต่งตั้ง
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของสตรี คณะท�างานติดตามสถานการณ์และเฝ้าระวังผลกระทบ
โดยเฉพาะสตรีที่อยู่ระหว่างการตั้งครรภ์ การเข้าถึง ของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
และได้รับบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์อย่างปลอดภัย (COVID-19)
และได้มาตรฐานส�าหรับสตรีระหว่างตั้งครรภ์หรือ
ที่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ ตลอดจนการคุ้มครองสิทธิ ๗) สิทธิและเสรีภาพในเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมือง
ของตัวอ่อนในครรภ์ของหญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในการด�าเนินการในเรื่องนี้ กสม. ชุดที่ ๓ ได้แต่งตั้ง
เพื่อให้คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกได้อย่างปลอดภัย คณะท�างานเพื่อติดตามสถานการณ์กรณีการชุมนุม
ทางการเมือง ส่งเจ้าหน้าที่เข้าสังเกตการณ์การชุมนุม
๔) สิทธิในกระบวนการยุติธรรม ได้จัดให้มีโครงการ ในพื้นที่ สรุปสถานการณ์การชุมนุมและเหตุการณ์
ตรวจเยี่ยมสถานที่เสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน การจับกุมและด�าเนินคดีแก่ผู้ชุมนุม รวมทั้งประเด็น
ซึ่งเน้นการตรวจเยี่ยมเรือนจ�าและทัณฑสถานในความดูแล สิทธิมนุษยชนที่พบจากการสังเกตการณ์ในพื้นที่
17