Page 16 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 16
บทที่ ๓ ผลการด�าเนินงาน โดยเป็นข้อมูลระหว่าง ๒๐ ฉบับ สามารถติดตามผลการด�าเนินงานและ
วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ถึง วันที่ ๒๔ พฤษภาคม สามารถยุติการติดตามได้ ๖ ฉบับ หรือร้อยละ ๓๐
๒๕๖๔ น�าเสนอตามหน้าที่และอ�านาจใน พ.ร.ป. กสม. อยู่ระหว่างการด�าเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๒๕๖๐ โดยสรุป ดังนี้ ๑๔ ฉบับ หรือร้อยละ ๗๐
หน้าที่และอ�านาจตามมาตรา ๒๖ (๑) การตรวจสอบ นอกจากนี้ กสม. ได้ด�าเนินการประสานการคุ้มครอง
และรายงานผลการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดย กสม. สิทธิมนุษยชนแก่ผู้ร้อง ตามระเบียบ กสม. ว่าด้วย
ชุดที่ ๓ ได้รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิด หลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิด
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
สิทธิมนุษยชนหรือการปฏิบัติไม่เป็นธรรม หรือเป็นเรื่องที่ สิทธิมนุษยชน พ.ศ. ๒๕๖๑ ดังมีกรณีการประสาน
กสม. เห็นสมควรให้มีการตรวจสอบการละเมิด การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญและสามารถให้
สิทธิมนุษยชน รวมทั้งสิ้น ๓,๓๙๑ เรื่อง (ข้อมูล ณ วันที่ ความคุ้มครองแก่ผู้ร้องจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนได้
๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔) โดยประเภทสิทธิที่มีการร้องเรียน อาทิ กรณีขอให้คุ้มครองสิทธิมนุษยชน และขอให้
มากที่สุด คือ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม ส่วนใหญ่ ตรวจสอบกรณีการเสียชีวิตของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
เป็นการร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิของผู้ต้องขัง สิทธิที่จะได้รับ กลุ่มอนุรักษ์ป่าชุมชนเขาเหล่าใหญ่-ผาจันได จังหวัด
การพิจารณาคดีด้วยความรวดเร็ว เป็นต้น ส�าหรับ หนองบัวล�าภู ฯลฯ ส�าหรับรายงานผลการตรวจสอบการ
การจัดท�ารายงานผลการตรวจสอบ กสม. ชุดที่ ๓ ละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ได้จัดท�าเป็นรายงานผลการตรวจสอบการละเมิด ได้มีการด�าเนินการตามมาตรการหรือแนวทางที่ กสม.
สิทธิมนุษยชน จ�านวน ๒,๑๐๘ ฉบับ เป็นรายงาน เสนอ อาทิ รายงานผลการตรวจสอบที่ ๒๘๓/๒๕๖๑
ที่พบว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชน จ�านวน ๒๗๙ ฉบับ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิเสรีภาพในร่างกาย
และเป็นรายงานที่ยุติเรื่อง จ�านวน ๑,๘๒๙ ฉบับ กรณีกล่าวอ้างว่าการปฏิบัติโดยใช้เครื่องพันธนาการ
สาเหตุของการยุติส่วนใหญ่เนื่องจากไม่พบประเด็น แก่ผู้ต้องขังในระหว่างการคุมตัวไปศาลเป็นการละเมิด
การละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีจ�านวนจ�านวน ๗๗๖ ฉบับ สิทธิมนุษยชน
คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๘๑ ของรายงานผลการตรวจสอบ
ทั้งหมด หน้าที่และอ�านาจตามมาตรา ๒๖ (๒) การจัดท�า
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ส่วนการติดตามผลการด�าเนินการตามที่ กสม. ของประเทศประจ�าปี เสนอต่อรัฐสภาและ
ได้เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการป้องกัน คณะรัฐมนตรี และเผยแพร่ต่อประชาชน ซึ่งได้จัดท�า
หรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน และเสนอแนะ รายงานจ�านวน ๖ ฉบับ กล่าวคือ รายงานฯ ปี ๒๕๕๘
มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครอง และรายงานฯ ปี ๒๕๕๙ โดยมีมาตรฐานที่ใช้ประเมิน
สิทธิมนุษยชน ซึ่งมีจ�านวนทั้งสิ้น ๓๒๔ ฉบับนั้น ประกอบด้วย ๑) หลักการตามรัฐธรรมนูญแห่ง
พบว่า สามารถติดตามผลการด�าเนินงานจากหน่วยงาน ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และ
ของรัฐ/เอกชนที่เกี่ยวข้องและสามารถยุติการติดตามได้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
จ�านวน ๑๖๓ ฉบับ คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๖๑ ส่วนที่เหลือ พุทธศักราช ๒๕๕๗ และกฎหมายอื่น และ ๒) สิทธิ
จ�านวน ๑๖๑ ฉบับ หรือร้อยละ ๔๙.๖๙ อยู่ระหว่าง ที่ได้รับการรับรองจากพันธกรณีหลักด้านสิทธิมนุษยชน
การด�าเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนการติดตาม ที่ประเทศไทยเป็นภาคี มีข้อค้นพบส�าคัญ อาทิ
ผลการด�าเนินการตามที่ กสม. ได้มีข้อเสนอแนะ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒๖/๑
มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครอง มีข้อยกเว้นให้รับฟังพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ
สิทธิมนุษยชน รวมทั้งการแก้ไขปรับปรุง กฎหมาย แต่ได้มาเนื่องจากการกระท�าโดยมิชอบหรือเป็น
กฎ ระเบียบ ค�าสั่ง ต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี มีจ�านวน พยานหลักฐานที่ได้มาโดยอาศัยข้อมูลที่เกิดขึ้นหรือ
14