Page 18 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 18
กสม. ชุดที่ ๓ ประกาศใช้แผนส่งเสริมสิทธิมนุษยชน (Asia Pacific Forum of National Human Rights
ตามยุทธศาสตร์ กสม. พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๕ เพื่อส่งเสริม Institutions : APF) และกรอบความร่วมมือระหว่าง
ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักในเรื่อง สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในระดับภูมิภาคเอเชีย
สิทธิมนุษยชน มีผลการด�าเนินการที่ส�าคัญ อาทิ การจัดท�า ตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia National Human
หลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษาในกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย Rights Forum : SEANF) โดยมีประเด็นส�าคัญที่ต้อง
การจัดท�าคู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา ด�าเนินการต่อเนื่องคือการด�าเนินการเพื่อแก้ไข
ส�าหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเสริมสร้างกระบวนการ ความห่วงกังวลของคณะอนุกรรมการ SCA ในทุกด้าน
เรียนรู้ผ่านนวัตกรรมส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ในหัวข้อ โดยไม่ชักช้า รวมถึงด�าเนินการเพื่อขับเคลื่อนให้มี
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
“สิทธิมนุษยชนกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ การยกเลิกบทบัญญัติมาตรา ๒๔๗ (๔) ของรัฐธรรมนูญ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) การกระตุ้น แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และมาตรา
และสร้างบุคคลต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชน (Human ๒๖ (๔) แห่ง พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ และการเพิ่มเติม
Rights Idol) รวมถึงการให้รางวัลบุคคลและองค์กร หน้าที่และอ�านาจในการไกล่เกลี่ยใน พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐
ที่มีผลงานดีเด่น ด้านการส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครอง อันเกี่ยวข้องกับการขอทบทวนสถานะของ กสม.
สิทธิมนุษยชนประจ�าปี การจัดท�าและเผยแพร่แถลงข่าว จากสถานะ ‘B’ เป็นสถานะ ‘A’
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
แถลงการณ์ เอกสารข่าวเกี่ยวกับประเด็นสิทธิมนุษยชน
ที่ส�าคัญ อย่างทันต่อเหตุการณ์ที่อาจเป็นการละเมิด บทที่ ๔ ผลการด�าเนินงานที่ส�าคัญ เป็นผลการ
สิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น การจัดตั้งศูนย์ศึกษา ด�าเนินงานที่ได้ก�าหนดเป็นประเด็นหรือพื้นที่ส�าคัญ
และประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคร่วมกับ ในแผนปฏิบัติงานประจ�าปี ตลอดจนการจัดท�าและ
สถาบันการศึกษา จ�านวน ๑๒ แห่ง เผยแพร่ข้อเสนอแนะบางกรณีที่ส�าคัญ อันอาจน�าไปสู่
การเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบาย หรือการปรับปรุงแก้ไข
หน้าที่และอ�านาจตามมาตรา ๒๗ (๑) การด�าเนินการ กฎหมายให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน อาทิ
ศึกษาวิจัยและเผยแพร่ความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชน
โดยได้สนับสนุนให้มีงานศึกษาวิจัยที่ส�าคัญและได้น�า ๑) การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน ป่าไม้
ข้อค้นพบที่ได้จากงานวิจัยไปปรับใช้เพื่อประโยชน์ สิทธิชุมชน ได้จัดท�าข้อเสนอแนะที่ส�าคัญ อาทิข้อเสนอ
ในด�าเนินงานส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน แนะกรณีการก�าหนดพื้นที่ในการท�ากิน การอยู่อาศัย และ
อาทิ งานศึกษาวิจัยเรื่องแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจกับ การด�าเนินวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงและชุมชน
สิทธิมนุษยชนของ กสม. พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ งานศึกษา ท้องถิ่นดั้งเดิมในเขตป่าสงวนแห่งชาติและเขตอุทยาน
วิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสิทธิมนุษยชนและ แห่งชาติ และข้อเสนอแนะเรื่อง ข้อเสนอแนะมาตรการ
สิ่งแวดล้อมเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับ หรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ฯลฯ กรณีศึกษา : ผลกระทบด้านการจราจรของโครงการ
ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย – มีนบุรี ฯลฯ
หน้าที่และอ�านาจตามมาตรา ๒๗ (๓) และ (๔)
ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ๒) ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ได้จัดกิจกรรมส�าคัญ
อันเป็นความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือที่ส�าคัญ หลายประการอย่างต่อเนื่อง โดยมีวัตถุประสงค์
๓ กรอบ กล่าวคือ กรอบความร่วมมือเครือข่ายพันธมิตร เพื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนการปฏิบัติตามหลักการ
ระดับโลกว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (Global ชี้แนะ UNGPs และหลักการอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมถึง
Alliance of National Human Rights Institutions : การจัดพิธีลงนามปฏิญญาความร่วมมือขับเคลื่อน
GANHRI) กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบัน หลักการชี้แนะ UNGPs ในประเทศไทย การเข้าร่วม
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ประชุม/สัมมนากับองค์กรต่าง ๆ ในเวทีระหว่าง
16