Page 159 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 159
ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชน กิจกรรมความร่วมมือกับศูนย์ศึกษาและประสาน
ในภูมิภาค หรือศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ ตามล�าดับที่ งานฯ ที่ส�าคัญ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ กิจกรรมที่ กสม. 1
(๑) - (๖) ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อปี ๒๕๖๐ เป็นต้นมา ส่วนล�าดับที่ จัดหรือริเริ่ม และกิจกรรมที่ศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ
(๗) - (๑๒) เพิ่งจัดตั้งเมื่อปลายปี ๒๕๖๓ ถึงต้นปี ๒๕๖๔ ด�าเนินการภายใต้หน้าที่และอ�านาจข้างต้น ดังนี้ 2
ศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ โดยเฉพาะในล�าดับที่ (๑) - (๖)
ได้ด�าเนินงานร่วมกับส�านักงาน กสม. ภายใต้โครงการและ ๑) กิจกรรมที่ กสม. เป็นผู้จัดหรือริเริ่ม 3
กิจกรรมต่าง ๆ ในแผนปฏิบัติการประจ�าปีของส�านักงานฯ ๑.๑) การสัมมนาเพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ
ศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ ข้างต้นมีหน้าที่และอ�านาจ ระหว่างศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ มีวัตถุประสงค์
ที่ครอบคลุมภารกิจส�าคัญด้านสิทธิมนุษยชน ดังนี้ เพื่อให้ศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ ภาคตะวันออก 4
(๑) ส่งเสริมและด�าเนินกิจกรรมเพื่อสร้างความรู้ เฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาคตะวันออก
ความเข้าใจด้านสิทธิมนุษยชน มหาวิทยาลัยบูรพา ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 5
(๒) รับและส่งเรื่องเกี่ยวกับการร้องเรียนการละเมิด ภาคใต้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ภาคตะวันตก
สิทธิมนุษยชนให้ส�านักงาน กสม. รวมทั้งให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี และจังหวัดชายแดน
ค�าแนะน�าเกี่ยวกับการร้องเรียน ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
(๓) ประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเบื้องต้น รวม ๖ ศูนย์ ได้มาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท�างาน
ตามที่ได้รับมอบหมาย ของศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ กระบวนการส่งเสริม
(๔) เฝ้าระวัง และติดตามเหตุการณ์หรือสถานการณ์ และขับเคลื่อนงานสิทธิมนุษยชน การท�างานร่วมกับ
ด้านสิทธิมนุษยชน เครือข่ายในพื้นที่ การบริหารจัดการภายในศูนย์ศึกษา
(๕) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลด้านสิทธิมนุษยชน และประสานงานฯ รวมทั้งกระบวนการท�างานร่วมกัน
เบื้องต้นเพื่อเสนอประเด็นการศึกษาวิจัยด้าน ระหว่างศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ ทั้ง ๖ ศูนย์ และ
สิทธิมนุษยชน น�าไปสู่การขับเคลื่อนภารกิจในปีงบประมาณต่อไป
(๖) ประสานหรือแสวงหาความร่วมมือกับหน่วยงาน
ของรัฐ องค์กรเอกชน ภาคประชาสังคม สถาบัน ๑.๒) การสนับสนุนโครงการเยาวชนคนรุ่นใหม่ใส่ใจ
การศึกษา และหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อปฏิบัติงาน และยืนเคียงข้างสิทธิมนุษยชน (Youth Standing Up for
ด้านสิทธิมนุษยชน Human Rights) รายละเอียดดังที่อธิบายในหัวข้อ ๓.๕.๓
(๗) หน้าที่และอ�านาจอื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
๑.๓) การสนับสนุนการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยากร ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ส�าหรับการบริหารงานของศูนย์ศึกษาและประสาน กระบวนการ (Training of Trainers) ด้านสิทธิมนุษยชน
งานฯ กสม. ชุดที่ ๓ ได้ออกระเบียบ กสม. ว่าด้วยการ เพื่อการน�าคู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา
ส่งเสริมความร่วมมือและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชน ส�าหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไปประยุกต์ใช้
ในภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๖๓ ส�าหรับเป็นแนวทางการท�างาน
ก�าหนดให้มีคณะกรรมการอ�านวยการศูนย์ศึกษาและ ๑.๔) การสนับสนุนการจัดอบรมเจ้าหน้าที่ของ
ประสานงานด้านสิทธิมนุษยชน จ�านวนศูนย์ละ ๑๔ คน หน่วยงานของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ภายใต้
โดยประมาณ ประกอบด้วย กรรมการสิทธิมนุษยชน แผนบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้
แห่งชาติเป็นประธาน ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการ
ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ ส�านักงาน กสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ๒) กิจกรรมที่ศูนย์ศึกษาและประสานงานฯ ดำาเนินการ
ของสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานของรัฐที่เป็นที่ตั้งศูนย์ ดังนี้
ศึกษาและประสานงานฯ ๒.๑) การจัดท�ารายงานสถานการณ์ปัญหาและผลกระทบ
ด้านสิทธิมนุษยชนจากโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) และ
ข้อเสนอแนะในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
157