Page 155 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 155
ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน จ�านวน ๑๙ แห่ง เสวนา ๒๐๐ คน เนื้อหาการเสวนาเกี่ยวกับโทษ
ทั่วประเทศ และแจ้งให้สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก ประหารชีวิตในมิติด้านศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และหลัก 1
และเยาวชนที่มีสถานแรกรับและมีบุคลากรพยาบาล สิทธิมนุษยชน ความคิดเห็นและข้อเสนอจากการเสวนา
ด�าเนินการจัดซื้อสมุดทดสอบตาบอดสีเพิ่มเติมอีก น�าไปประกอบการจัดท�าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับ 2
จ�านวน ๓๔ แห่ง และยังก�าหนดให้การทดสอบตาบอดสี การเปลี่ยนแปลงการลงโทษประหารชีวิต
เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินสภาวะสุขภาพเด็กและเยาวชน 3
๔) การประชุมสามัญระดับโลกสมาคมสากลเพื่อ
กรมกิจการเด็กและเยาวชน ได้มีข้อเสนอแนะ หญิงรักหญิง ชายรักชาย คนรักสองเพศ คนข้ามเพศ
เพิ่มเติมว่า ควรตรวจคัดกรองหาเด็กที่มีภาวะตาพร่องสี และคนมีสองเพศ ครั้งที่ ๒๘ จัดร่วมกับสมาคมฟ้าสีรุ้ง 4
ตั้งแต่อายุ ๓ ปี ขึ้นไป เนื่องจากเป็นช่วงวัยที่ปรับตัว แห่งประเทศไทย หน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
ในการใช้ชีวิตประจ�าวันและการเรียนได้ดีกว่าการปรับตัว เพื่อให้นักกิจกรรมความหลากหลายทางเพศ ผู้แทน 5
ช่วงเป็นผู้ใหญ่ ทั้งนี้ กรมกิจการเด็กและเยาวชนจะได้ หน่วยงานภาครัฐ ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนหน่วยงาน
พิจารณาน�าเรื่องภาวะตาพร่องสีบรรจุไว้ในมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจและให้การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติเพื่อให้เป็นมาตรฐานต่อไป ของกลุ่มบุคคลซึ่งมีอัตลักษณ์ทางเพศและเพศวิถีไม่ตรง
กับเพศก�าเนิด กิจกรรมประกอบด้วยการจัดฝึกอบรม
ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ส่ง ให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านสื่อสารมวลชนและเยาวชน
ข้อเสนอแนะของ กสม. ในเรื่องดังกล่าวให้ที่ประชุม เรื่องการเสนอข่าวเกี่ยวกับบุคคลซึ่งมีอัตลักษณ์ทางเพศ
อธิการบดีแห่งประเทศไทย ที่ประชุมอธิการบดี และเพศวิถีไม่ตรงกับเพศก�าเนิด (จัดในเดือนพฤศจิกายน
มหาวิทยาลัยราชภัฏ คณะกรรมการอธิการบดี ๒๕๕๙) และการประชุมสามัญระดับโลกสมาคมสากล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สมาคมสถาบัน เพื่อหญิงรักหญิง ชายรักชาย คนรักสองเพศ คนข้ามเพศ
อุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย กลุ่มสถาบัน และคนมีสองเพศ ครั้งที่ ๒๘ (จัดระหว่างวันที่ ๒๘
แพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย และสถาบันอุดมศึกษา พฤศจิกายน - ๒ ธันวาคม ๒๕๕๙)
ทุกแห่ง เพื่อให้พิจารณาน�าข้อเสนอแนะไปเป็นข้อมูล
ประกอบการพิจารณาด�าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป ๕) การสัมมนาเพื่อรับฟังความเห็นต่อกฎหมายหรือ
ร่างกฎหมาย ได้แก่ การสัมมนาเรื่อง “พระราชก�าหนด
๓) การเสวนาเรื่อง “โทษประหารชีวิต...ลดการท�าผิด การประมงกับการประมงที่ยั่งยืน จัดในเดือนกันยายน
หรือควรคิดใหม่” จัดในเดือนตุลาคม ๒๕๕๙ เนื่องใน ๒๕๕๙ และเรื่อง “การติดตามผลการพิจารณาร่าง ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
วันยุติโทษประหารชีวิตสากล มีองค์กรร่วมจัด ได้แก่ พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. ....” จัดในเดือนพฤศจิกายน
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม และ ๒๕๕๙ ตามล�าดับ ความเห็นที่ได้จากการรับฟังได้น�าไป
แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย มีผู้เข้าร่วม เป็นข้อมูลประกอบการจัดท�าความเห็น/ข้อเสนอแนะ
เชิงนโยบายในเรื่องนี้
๖) การประสานความร่วมมือเชิงนโยบายกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้
สิทธิมนุษยชน ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการและส�านักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อบรรจุความรู้เรื่อง
สิทธิมนุษยชนในกิจกรรมเรียนรู้ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
การน�าหลักสูตรสิทธิมนุษยชนบรรจุในหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมมือกับกรมคุ้มครองสิทธิและ
เสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม เพื่อหาแนวทางบูรณาการ
การส่งเสริมความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนร่วมกัน
153