Page 156 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 156
๗) การสัมมนาวิชาการ เรื่อง การเผยแพร่และ ผู้บังคับบัญชาและระดับผู้ปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ
การขับเคลื่อนสิทธิมนุษยชนศึกษาในสังคมไทย ๒๕๖๒ ได้จัดท�าคู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่
เพื่อเผยแพร่และส่งมอบหลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษา ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ส�าหรับปีงบประมาณ
ส�าหรับกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย และคู่มือจัดการ ๒๕๖๔ เป็นการจัดฝึกอบรมแก่ภาคประชาชนในพื้นที่
เรียนรู้ในทุกภาคส่วนของสังคมอย่างเป็นระบบ อันเป็น และการจัดตั้งเป็นเครือข่าย ขณะนี้อยู่ระหว่างด�าเนินการ
กิจกรรมต่อเนื่องจากการจัดท�าหลักสูตรสิทธิมนุษยชน และปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นการด�าเนินการต่อเนื่อง
ศึกษาส�าหรับกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย ดังที่อธิบาย จากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ อยู่ระหว่างการจัดท�าค�าขอ
ไว้แล้วในหัวข้อ ๓.๕.๒ งบประมาณ (ดูรายละเอียดบทที่ ๔)
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
๘) การประชุมหารือแนวทางบูรณาการความร่วมมือ ๑๑) โครงการขับเคลื่อนงานด้านสิทธิมนุษยชน
เพื่อส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน จัดขึ้น ๓ ครั้ง ในการส่งเสริม ปกป้อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน
มีหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมหารือ ๓๐ แห่ง กล่าวคือ (ภายใต้แผนบูรณาการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว
ครั้งที่ ๑ จัดเมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เป็นการ และการค้ามนุษย์) จัดขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
ประชุมหารือกับหน่วยงานของรัฐในภาคการบังคับใช้ เป็นการจัดเวทีสาธารณะและฝึกอบรมเกี่ยวกับการ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
กฎหมาย (๑๐ แห่ง) ครั้งที่ ๒ จัดเมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ปกป้องและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนจากปัญหาค้ามนุษย์
๒๕๖๐ เป็นประชุมหารือกับหน่วยงานของรัฐในภาค ประกอบด้วยกิจกรรม คือ ก) การสัมมนาเครือข่าย
การศึกษาและสถาบันการศึกษา (๘ แห่ง) และครั้งที่ ๓ สิทธิมนุษยชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาแรงงาน
จัดเมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ ประชุมหารือกับ ต่างด้าวและการค้ามนุษย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนามีจ�านวน
หน่วยงานของรัฐและหน่วยงานด้านการฝึกอบรม (๑๒ แห่ง) ๓๒๔ คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ภาครัฐ องค์กรเอกชน
เครือข่ายภาคประชาชนที่เกี่ยวข้องกับปัญหาแรงงาน
๙) การสัมมนาวิชาการเรื่อง “การลงโทษทางอาญา ต่างด้าวและค้ามนุษย์ ข) การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
กับหลักสิทธิมนุษยชน” เมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๐ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์: เอ็กซเรย์
องค์กรร่วมจัดประกอบด้วยสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส ชุมชนให้ทุกคนมีเลข ๑๓ หลัก” จ�านวน ๓ ครั้ง
ประจ�าประเทศไทย สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่ง ที่จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดอุดรธานี และกรุงเทพมหานคร
ประเทศไทย มูลนิธิเพืื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ผู้เข้าร่วมสัมมนามีจ�านวน ๒๐๐ คน จากเครือข่ายภาครัฐ
ในการนี้ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ภาคเอกชน ภาคประชาชน ค) การอบรมเพื่อป้องกัน
เสด็จมาทรงเปิดงานสัมมนา การสัมมนามีเนื้อหาเกี่ยวกับ การละเมิดสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการค้ามนุษย์
ปัญหาการลงโทษทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน
มาตรา ๑๘ รวมถึงการประหารชีวิตที่มีผลกระทบต่อ ภาคประชาสังคม นิสิตนักศึกษา จ�านวน ๑๐๐ คน
สิทธิและเสรีภาพของบุคคล
๑๒) การสัมมนาวิชาการเรื่องปัญหาทางกฎหมาย
๑๐) โครงการสร้างความเข้มแข็งในพื้นที่จังหวัด เกี่ยวกับสัญชาติและสิทธิในความเป็นพลเมืองของ
ชายแดนใต้ (ภายใต้แผนบูรณาการขับเคลื่อน รัฐไทย เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐ กรุงเทพมหานคร
การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนใต้) อันเป็นโครงการ มีองค์กรร่วมจัด ได้แก่ กรมการปกครอง กระทรวง
ต่อเนื่องนับแต่ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ถึง ๒๕๖๕ โดยในปี มหาดไทย สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจ�า
งบประมาณ ๒๕๖๐ เป็นการจัดการฝึกอบรมความรู้เรื่อง ประเทศไทย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนโยบายสาธารณะ
สิทธิมนุษยชนให้แก่เยาวชนและบุคลากรจากหน่วยงาน และธรรมาภิบาลเยอรมัน-อุษาคเนย์ และมูลนิธิไทย
ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ และเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย เพื่อคนมีปัญหาสิทธิและสถานะบุคคล ในการนี้
ในพื้นที่ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ได้จัดอบรมความรู้เรื่อง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
สิทธิมนุษยชนแก่เจ้าหน้าที่ทหาร ต�ารวจ ฝ่ายปกครอง ทรงเปิดงานสัมมนาและรับฟังการบรรยาย (ดูรายละเอียด
และเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ระดับ บทที่ ๔)
154