Page 157 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 157
๑๓) การจัดกิจกรรมส่งเสริมสิทธิกลุ่มชาติพันธุ์ : และจังหวัดกระบี่ จัดกิจกรรมนี้ขึ้น ณ จังหวัดพังงา
รวมญาติชาติพันธุ์ชาวเล ครั้งที่ ๘ ในปี ๒๕๖๐ โดย กสม. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๕๐๐ คน จากชุมชนชาวเล ๑๖ ชุมชน 1
ชุดที่ ๓ ได้ร่วมกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ในการนี้กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้ร่วมหารือ
ของมนุษย์ กระทรวงวัฒนธรรม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กับเครือข่ายชาติพันธุ์ชาวเลเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท�ากิน 2
(องค์การมหาชน) สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์ และมีข้อเสนอแนะ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) มูลนิธิชุมชนไท เบื้องต้นเกี่ยวกับการมีเขตคุ้มครองทางวัฒนธรรม 3
จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดสตูล จังหวัดระนอง กลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล (ดูรายละเอียดบทที่ ๔)
4
5
๑๔) โครงการจ้างศึกษาความก้าวหน้าของ ความรับรู้ถึงความมุ่งมั่นในความส�าเร็จของงานด้าน
สิทธิเด็กเพื่อใช้สัมมนาวิชาการเพื่อเผยแพร่และ สิทธิเด็กของประเทศไทยตลอด ๓๐ ปีที่ผ่านมา แนวนโยบาย
ขับเคลื่อนกฎหมายและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวข้อง และการด�าเนินการในอนาคตเพื่อยกระดับงานสิทธิเด็ก
กับสิทธิเด็ก ระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ในประเด็นเกี่ยวกับมาตรการทั่วไป กระบวนยุติธรรม
กรุงเทพมหานคร โดยเป็นองค์ร่วมจัดกับกระทรวง ส�าหรับเด็ก สภาพแวดล้อมทางครอบครัวและการเลี้ยงดู ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สภาองค์การ ทดแทน การทอดทิ้งเด็ก ความรุนแรงต่อเด็ก เด็กใน
พัฒนาเด็กและเยาวชนในพระบรมราชูปถัมภ์ สถานการณ์โยกย้ายถิ่นฐาน เด็กพิการ การศึกษา เวลาว่าง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และกิจกรรมทางวัฒนธรรม สุขภาพพื้นฐานและสวัสดิการ
เครือข่ายสิทธิเด็กแห่งประเทศไทย สภาเด็กและ เด็กชาติพันธุ์ เด็กไร้รัฐไร้สัญชาติ เด็กกับสิ่งแวดล้อม
เยาวชนแห่งประเทศไทย และองค์การทุนเพื่อเด็ก สิทธิเด็กกับภาคธุรกิจ เพื่อเผยแพร่ความส�าเร็จของ
แห่งสหประชาชาติ ประเทศไทย จัดเนื่องในโอกาส ประเทศไทยต่อการด�าเนินงานตามอนุสัญญา และทิศทาง
๓๐ ปีของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก การพัฒนางานด้านสิทธิเด็กของประเทศไทยในอนาคต
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนในการ
ในส่วนของ กสม. ซึ่งมีหน้าที่และอ�านาจในการ ปรับปรุงสถานการณ์ด้านสิทธิเด็กของประเทศไทย
ส่งเสริมความเคารพและปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน ตลอดจนสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับสิทธิเด็ก
ส่งเสริมความร่วมมือและประสานงานระหว่างหน่วยงาน ต่อสาธารณะผ่านสื่อต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายสูงสุดให้เด็ก
ราชการ องค์การเอกชน และองค์กรอื่นด้านสิทธิเด็ก ทุกคนได้รับการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิโดยการ
ได้จัดท�ารายงานความก้าวหน้าการด�าเนินการตาม มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างเข้มแข็งต่อไป
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กของประเทศไทย เพื่อสร้าง
155