Page 151 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 151
(International Day for the Elimination of • รายการ “คุยกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
Racial Discrimination) วันสตรีสากล ๘ มีนาคม แห่งชาติ” สถานีวิทยุรัฐสภา รายการ “หยิบมาถก 1
(International Women’s Day) วันยุติการ ยกมาคุย” สถานีวิทยุจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เลือกปฏิบัติ ๑ มีนาคม (Zero Discrimination 2
Day) วันแรงงานข้ามชาติสากล ๑๘ ธันวาคม ๒.๓) การผลิตสารคดี สื่อเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
(International Migrants Day) รวมถึงการ ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อดิจิทัล 3
ประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน อาทิ การถอด เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชน โดยเผยแพร่ผ่าน
บทเรียนสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา สื่อออนไลน์หรือเว็บไซด์ของส�านักงาน กสม. ได้แก่
2019 (COVID-19): ผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงถูกตีตรา/ • ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง “๓ เดซิเบล เสียงที่ 4
เลือกปฏิบัติอย่างไรบ้าง การถอดบทเรียน ไม่ได้ยิน” ซึ่งฉายในวันสิทธิมนุษยชนสากล
สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ และออกอากาศ 5
(COVID-19): ใครคือกลุ่มเปราะบางที่ได้รับ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสในเดือนเมษายน
ผลกระทบ และสิทธิมนุษยชนกับเสรีภาพ ๒๕๕๙
ในการชุมนุม • สื่อเผยแพร่ความรู้เรื่อง “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์”
ผ่านรูปแบบ Viral Video ความยาวไม่เกิน ๕ นาที
๒.๒) รายการวิทยุกระจายเสียง เผยแพร่ทางเว็บไซด์ Facebook ช่อง Youtube
โดยมี กสม. ผู้บริหารส�านักงาน กสม. และผู้ทรงคุณวุฒิ ของส�านักงาน กสม. และสื่อสังคมออนไลน์
ด้านสิทธิมนุษยชนร่วมถ่ายทอดความรู้ความตระหนัก สื่ออินโฟกราฟิกเรื่อง ๑๐ ประเด็นใกล้ตัว
ด้านสิทธิมนุษยชน ได้แก่ ประชาชนใน พ.ร.ป. กสม. พ.ศ. ๒๕๖๐
• รายการ “เพื่อสิทธิมนุษยชน” สถานีวิทยุ • นิทานส่งเสริมสิทธิเด็ก เรื่อง “มดจิ๋วสีรุ้ง” ท�าเป็น
กระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ รูปแบบ Motion Graphic เป็นสื่อสร้างสรรค์
• รายการ “ส�านึกของสังคม ช่วงเพื่อสิทธิมนุษยชน” เป็นภาพกราฟิกแบบเคลื่อนไหว เพื่อปลูกฝัง
และรายการ “ส�านึกของสังคม” สถานีวิทยุ ให้เด็กและเยาวชนรู้จักเคารพในตัวเอง ยอมรับ
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความแตกต่างของกันและกัน ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
QR CODE เรื่องมดจิ๋วสีรุ้ง
149