Page 150 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 150
ปีงบประม�ณ แถลงก�รณ์
ปี ๒๕๖๓ • ประณามการก่อเหตุยิงโจมตีป้อมยามชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้านในพื้นที่จังหวัดยะลา และ
(๗ เรื่อง) ขอให้ก�าลังใจประชาชน-เจ้าหน้าที่ในพื้นที่
• ประณามการลอบวางระเบิดในพื้นที่สาธารณะ อ�าเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา เป็นเหตุให้
ชาวบ้าน เด็ก และเยาวชนได้รับบาดเจ็บ
• สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
• สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ฉบับที่ ๒)
• ประณามการวางระเบิดหน้า ศอ.บต. ยะลา ขณะประชุมเตรียมรับมือสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
• ขอให้ทุกฝ่ายในการชุมนุมยึดหลักสิทธิมนุษยชนและใช้แนวทางสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
• ข้อห่วงใยต่อสถานการณ์การชุมนุม ในวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๓
ปี ๒๕๖๔ • เหตุการณ์สลายการชุมนุมเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๓
(๖ เรื่อง) • สนับสนุนการเดินหน้าเจรจาในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติวิธี
• ขอให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการชุมนุมยึดมาตรฐานสากลและหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง
• ขอให้ทุกฝ่ายเคารพหลักสิทธิมนุษยชนในการชุมนุม ให้ใช้อุปกรณ์อันตรายเท่าที่จ�าเป็น รวมถึง
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
การประกันสิทธิเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรม
• ประณามเหตุคนร้ายไล่ยิงรถขนสินค้าระหว่างทางในพื้นที่อ�าเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต ๓ ราย และเผาท�าลายรถยนต์
• ข้อห่วงใยต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่
๒) การผลิตและเผยแพร่สื่อเอกสาร สื่อประชาสัมพันธ์
การประกวดสื่อ
๒.๑) สื่อเอกสารและสื่อประชาสัมพันธ์ ได้แก่
»‚·Õè ñö ©ºÑº·Õè ù ¡Ñ¹ÂÒ¹ òõöð
ผลิตจดหมายข่าว “มุมมองสิทธิ์” ในรูปเอกสารและ
e-Newsletter เผยแพร่ผ่านเว็บไซด์ส�านักงาน กสม.
กสม. เปิดศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชน
กสม. เปิดศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชน
“ห้องสมุดเฉพาะด้านสิทธิมนุษยชนแห่งแรกของประเทศไทย” เป็นประจ�าทุกเดือน โดยมีกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย
“ห้องสมุดเฉพาะด้านสิทธิมนุษยชนแห่งแรกของประเทศไทย”
– ส่งเสริมประชาชนเรียนรู้เรื่องสิทธิฯ ด้วยตนเอง
– ส่งเสริมประชาชนเรียนรู้เรื่องสิทธิฯ ด้วยตนเอง
วันที่ ๔ กันยายน ๒๕๖๐ สำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เปิดให้ การสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร
บริการศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชน หรือ “ห้องสมุดเฉพาะด้านสิทธิมนุษยชนแห่งแรก สารสนเทศด้านสิทธิมนุษยชน และหน่วยงาน อาทิ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา
ของประเทศไทย” ศูนย์กลางความรู้และแหล่งข้อมูลด้านสิทธิมนุษยชน ภายใต้แนวคิด ต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
“สานสร้าง” หรือ “Sync.Space” (Synchronizing Space) สานความรู้ สานเครือข่าย นายวัส กล่าวเพิ่มเติมว่า ข้อมูล
สร้างคน สร้างสิทธิมนุษยชน เพื่อให้ประชาชนได้ศึกษาเรียนรู้ข้อมูลด้านสิทธิมนุษยชนได้ ความรู้ต่าง ๆ ในศูนย์ฯ แห่งนี้ กสม. ได้รับ
อย่างครบวงจร ซึ่งสามารถเดินทางมาใช้บริการได้ที่ สำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ความร่วมมือจากองค์กรสารสนเทศด้าน
แห่งชาติ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ หรือผ่านช่องทางออนไลน์ สิทธิมนุษยชนและหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งใน และประชาชนทั่วไป
ทั้งเว็บไซต์ เฟซบุ๊ก ไลน์ และยูทูปได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ประเทศและต่างประเทศ เช่น เครือข่าย
นายวัส ติงสมิตร ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กล่าวว่า ตามรัฐธรรมนูญ ความร่วมมือห้องสมุดและศูนย์ข้อมูลสำาหรับ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำาหนดให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ห้องสมุด
(กสม.) มีหน้าที่สร้างเสริมทุกภาคส่วนของสังคมให้ตระหนักถึงความสำาคัญของสิทธิมนุษยชน สถาบันราอูลวอลเลนเบิร์กว่าด้วยกฎหมาย
กสม. จึงได้ดำาเนินการจัดตั้ง “ศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชน” ขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางความรู้ สิทธิมนุษยชนและมนุษยธรรม (RWI) • การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อส่งเสริมความรู้ด้าน
และแหล่งข้อมูลด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ที่มุ่งเน้นให้บริการสารสนเทศ และเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
ด้านสิทธิมนุษยชนแก่ประชาชนทั่วไป ผู้พิการ ตลอดจนบุคคลที่ไม่มีบัตรประชาชน/บุคคล กฎหมาย การเมืองและการปกครอง
ไร้สัญชาติ ให้สามารถใช้บริการและเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้โดยง่ายและสะดวก รวมถึง อ่านต่อหน้า ๒ สิทธิมนุษยชน ประเภทหนังสือ เช่น กติการะหว่าง
๕
๑
สารบัญ “ห้องสมุดเฉพาะด้านสิทธิมนุษยชนแห่งแรกของประเทศไทย” ๒ ๓ ๔ กับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ๖ ๘ ประเทศและอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน
๒๐ กันยายน วันเยาวชนแห่งชาติ
กสม. เปิดศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชน
– ส่งเสริมประชาชนเรียนรู้เรื่องสิทธิฯ ด้วยตนเอง
เปิดรายงานศึกษาการลงทุน ของเอกชน
-รัฐวิสาหกิจไทยในต่างแดน – ชี้โครงการส่วนใหญ่ละเมิดสิทธิฯ
มุมสะท้อน
ขาดการมีส่วนร่วมของ ปชช.
กสม. จัดเวทีระดมความเห็นเพื่อจัดทำาแนวปฏิบัติ
ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของผู้หญิงมลายูมุสลิม
ศ.วิทิต มันตาภรณ์ ลาออกจากตำาแหน่ง
ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านเพศสภาพของยูเอ็น
– จังหวัดชายแดนใต้
ภาพกิจกรรม
คู่มือการท�าความเข้าใจ สิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมือง คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
ต�ารวจตามหลักสิทธิมนุษยชน ประมวลศัพท์
และความรู้สิทธิมนุษยชน สื่อนิทรรศการ เป็นต้น
• การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและสื่อสิ่งพิมพ์
และข้อมูลการด�าเนินงานด้านการส่งเสริม
และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติทางเว็บไซต์ www.nhrc.or.th
และผ่านสื่อออนไลน์ เช่น การให้ความรู้ใน
วันส�าคัญด้านสิทธิมนุษยชน อาทิ วันขจัดการ
เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติสากล ๒๑ มีนาคม
148