Page 60 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 60
ราชการหลายภาคส่วนทั้งฝ่ายกำากับดูแลและฝ่ายปฏิบัติ ดังนั้น การแก้ไขกฎหมาย ๑) การปฏิรูปเรือนจำาเพื่อรองรับนักโทษประหารชีวิต
ที่มีฐานความผิดเป็นโทษประหารชีวิตจะต้องพิจารณาไปพร้อมกันทั้งระบบ จึงควรจำาแนก ซึ่งปัจจุบันกำาหนดให้เรือนจำาที่ควบคุมผู้ต้องขังโทษประหารชีวิตทั่วประเทศ จำานวน
ประเภทฐานความผิดออกเป็นกลุ่ม และมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละกลุ่มเป็น ๑๐-๑๑ แห่ง แต่ในทางปฏิบัติ กรณีเป็นนักโทษชายจะกำาหนดให้ควบคุมตัวที่เรือนจำา
ผู้พิจารณา โดยกำาหนดระยะเวลาในการดำาเนินการชั้นต้น ๑ ปี โดยมีรายละเอียดดังนี้ กลางบางขวาง ส่วนนักโทษหญิงให้จำาคุกที่เรือนจำาหญิงนั้นๆ แต่จำาแนกแดนขังให้ชัดเจน
๒.๒.๑) การจำาแนกฐานความผิดออกเป็น ทั้งนี้ อาจพิจารณาในการกำาหนดให้เรือนจำาความ
กลุ่มๆ โดยอาจพิจารณาแบ่งฐานความผิดทั้ง ๖๓ ฐาน ออกเป็น ๕ กลุ่มฐานความผิด มั่นคงสูง ทั้ง ๕ แห่ง เป็นเรือนจำาสำาหรับนักโทษจำาคุกตลอดชีวิตซึ่งถูกเปลี่ยนจาก
ได้แก่ (๑) กลุ่มฐานความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง (๒) กลุ่มฐานความผิดเกี่ยวกับ โทษประหารชีวิต และกำาหนดมาตรการในการดูแลนักโทษให้ชัดเจนเป็นสัดส่วน
ความปลอดภัยสาธารณะ (๓) กลุ่มฐานความผิดที่กระทำาต่อชีวิตร่างกาย ซึ่งกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม ควรพิจารณาปรับปรุงเรือนจำาให้มีมาตรฐานที่จะ
(๔) กลุ่มฐานความผิดเกี่ยวกับตำาแหน่งหน้าที่การงาน และ (๕) กลุ่มฐานความผิด สามารถรองรับการดำาเนินการดังกล่าว
ตามกฎหมายเฉพาะ ๒.๓.๒) ข้อเสนอแนะทางนโยบายที่ต้องจัดทำากฎหมาย
๒.๒.๒) การมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑) การสร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม
ในแต่ละกลุ่มเป็นผู้พิจารณาทบทวนเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ซึ่งหน่วยงานที่ โดยเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อประชาชนว่าผู้ที่ถูกลงโทษคือผู้ที่กระทำาความผิดจริง
รับผิดชอบต้องทำาการศึกษาทบทวนข้อมูลให้ครบถ้วนรอบด้าน เช่น ข้อเท็จจริง และโทษที่ได้รับเป็นไปตามสัดส่วนความผิดนั้นๆ รวมถึงผู้กระทำาผิด และนักโทษประหาร
ทางคดีว่าความผิดนั้นๆ เคยเกิดขึ้นจริงหรือไม่ หากเกิดขึ้นจริงมีการพิจารณา ชีวิตจะต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิตามมาตรฐานสากล เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อมั่นของ
้
พิพากษาลงโทษอย่างไร ตลอดจนการกระทำาผิดซำาในคดีนั้นๆ หลังจากได้รับ ประชาชนต่อกระบวนการยุติธรรม อันจะนำาไปสู่การเคารพกฎหมายโดยไม่สัมพันธ์กับ
การพักการลงโทษเป็นอย่างไร หากพิจารณาแล้วว่าสมควรยกเลิกโทษประหารชีวิต ความหนักเบาหรือความร้ายแรงของโทษที่กำาหนดต่อไป
ควรระบุให้ชัดเจนว่า ควรใช้โทษทางอาญาใดทดแทนด้วย ๒) การปรับปรุงระบบและกระบวนการยุติธรรม
อนึ่ง ในการปรับปรุงกฎหมายนี้ กำาหนดหน่วยงาน ๒.๑) การส่งเสริมกระบวนการยุติธรรมเชิง
ที่เกี่ยวข้องให้ดำาเนินการ ประกอบด้วย กระทรวงกลาโหม กรมพระธรรมนูญ กระทรวง สมานฉันท์ ซึ่งในกรณีของความผิดที่มีโทษสูงต้องพิจารณาศึกษาความเหมาะสมในการ
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงยุติธรรม สำานักงานอัยการสูงสุด นำามาใช้ อย่างไรก็ตาม กรณีของโทษประหารชีวิตควรมุ่งเน้นเรื่องการเยียวยาผู้เสียหาย
สำานักงานศาลยุติธรรม สำานักงานตำารวจแห่งชาติ สำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มากกว่าการสร้างความสมานฉันท์ โดยเฉพาะในการสร้างความเชื่อมั่นด้านกระบวนการ
และสำานักงานกิจการยุติธรรม ยุติธรรมให้แก่ผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรมให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
๒.๒) การเพิ่มบทบาทครอบครัวและชุมชน
๒.๓) ข้อเสนอแนะเพื่อดำาเนินการควบคู่กับการเปลี่ยนแปลง
โทษประหารชีวิต (กระทรวงยุติธรรม, ๒๕๖๒) ประกอบด้วย ในการคุมประพฤติผู้กระทำาผิดภายใต้การกำากับดูแลของผู้คุมประพฤติและคำาสั่งหรือ
คำาพิพากษาของศาล โดยจะต้องมีแผนการรองรับที่ดี และสามารถคาดหมายได้ว่า
๒.๓.๑) ข้อเสนอแนะทางนโยบาย ้
อัตราการกระทำาผิดซำามีจะทิศทางอย่างไรเมื่อได้รับการพักการลงโทษแล้ว
58 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 59