Page 63 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 63
๒.๓) การใช้วิธีบำาบัดเกี่ยวกับกระบวนการคิด ๒. สถานการณ์การประหารชีวิต
และพฤติกรรม โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาพฤตินิสัยจะต้องจัดให้มีความ ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก
พร้อมด้านบุคลากรโดยเฉพาะนักจิตวิทยาเพื่อดูแลและลดพฤติกรรมรุนแรงของผู้กระทำา ๒.๑ การประหารชีวิตในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
ผิดที่เข้าสู่การบำาบัด จากการสำารวจการประหารชีวิตในประเทศต่างๆ ทั่วโลกในรอบปี พ.ศ. ๒๕๖๑
๓) มาตรการทดแทนที่เปลี่ยนโทษประหารชีวิตเป็น ของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย พบว่า มีการประหารชีวิตนักโทษ
โทษจำาคุกตลอดชีวิต ในประเทศต่างๆ อย่างน้อย ๖๙๐ ครั้ง แบ่งเป็นการประหารชีวิตในประเทศต่างๆ ดังนี้
มาตรการทดแทนที่เปลี่ยนโทษประหารชีวิตเป็น ๑) จีน จำานวน (+) ราย* ๒) อิหร่าน จำานวน ๒๕๓+ ราย*
โทษจำาคุกตลอดชีวิต เพื่อให้ผู้เสียหายเห็นว่า แม้ผู้กระทำาผิดจะไม่ได้รับโทษประหารชีวิต ๓) ซาอุดีอาระเบีย จำานวน ๑๔๙ ราย ๔) เวียตนาม จำานวน ๘๕+ ราย*
แต่ก็ยังได้รับโทษในความผิดที่กระทำาลงไป จึงควรมีการจำากัดระยะเวลาในการ ๕) อิรัก จำานวน ๕๒+ ราย* ๖) อียิปต์ จำานวน ๔๓+ ราย*
๗) สหรัฐอเมริกา จำานวน ๒๕ ราย
จำานวน ๑๕ ราย
๘) ญี่ปุ่น
ลงโทษจำาคุกไม่น้อยกว่า ๒๕ - ๓๐ ปีก่อนจะได้รับสิทธิอื่นๆ ตามที่กฎหมายกำาหนด ๙) ปากีสถาน จำานวน ๑๔+ ราย* ๑๐) สิงคโปร์ จำานวน ๑๓ ราย
อย่างไรก็ตาม การจำากัดระยะเวลานั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรแสวงหาระยะเวลา ๑๑) โซมาเลีย จำานวน ๑๓ ราย (แบ่งเป็น จูบาแลนด์ ๑๐ ราย
ที่เหมาะสมร่วมกัน และควรมีการพัฒนาพฤตินิสัยในระหว่างการรับโทษนั้น ทั้งนี้ และสหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย ๓ ราย)
ควรมีนโยบายที่ชัดเจนในการดูแลนักโทษประหารชีวิตให้มีการได้รับโทษใน ๑๒) ซูดานใต้ จำานวน ๗+ ราย* ๑๓) เบลารุส จำานวน ๔+ ราย*
ระยะเวลาที่เหมาะสม และไม่เกิดความลักลั่นในทางปฏิบัติกับนักโทษที่มี ๑๔) เยเมน จำานวน ๔+ ราย* ๑๕) อัฟกานิสถาน จำานวน ๓ ราย
โทษจำาคุกระยะยาว ๑๖) บอตสวานา จำานวน ๒ ราย ๑๗) ซูดาน จำานวน ๒ ราย
จำานวน ๑ ราย
๑๙) ไทย
จำานวน ๑ ราย
๑๘) ไต้หวัน
๒๐) เกาหลีเหนือ จำานวน (+) ราย*
ในจำานวน ๒๐ ประเทศที่มีการประหารชีวิตในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ นั้น พบว่า
มีจำานวนประเทศที่ทำาการประหารชีวิตลดน้อยลง จำานวน ๓ ประเทศ เมื่อเทียบกับ
ปี ๒๕๖๐ แต่ปรากฏว่าในปี ๒๕๖๑ ประเทศบอตสวานา ซูดาน ไต้หวันและ
ประเทศไทยเป็นประเทศที่กลับมาประหารชีวิตอีกครั้ง หลังจากที่ไม่มีการประหารชีวิต
มาเป็นระยะเวลานานและไม่มีรายงานการประหารชีวิตในประเทศบาห์เรน บังคลาเทศ จอร์แดน
คูเวต มาเลเซีย ปาเลสไตน์ และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล
ประเทศไทย, ๒๕๖๒)
* สืบเนื่องจากสงครามที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในประเทศเหล่านี้ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล
ไม่สามารถยืนยันตัวเลขการประหารชีวิตที่เกิดขึ้นในซีเรีย ในปี ๒๕๖๑ ได้
60 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 61