Page 55 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 55
๑.๓ พัฒนาการการยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศไทย ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๑ กระทรวงยุติธรรมโดยกรมราชทัณฑ์ได้ดำาเนินการบังคับโทษ
๑.๓.๑ พัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตของไทย ตามคำาพิพากษาขึ้น และทำาให้ปลายทางของการยกเลิกโทษประหารชีวิตอย่างเป็น
พัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตของไทย พบว่า รูปธรรมทางหนึ่งต้องเริ่มต้นใหม่อีกครั้ง
นอกจากนี้ ยังพบว่า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ กฎหมายไทยได้มีการขยายฐาน
๑) พัฒนาการเชิงบวก ประเทศไทยได้มีการแก้ไขกฎหมาย
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ความผิดของโทษประหารชีวิตเพิ่มสูงขึ้นจาก ๕๕ ฐานความผิด เป็น ๖๓ ฐานความผิด
วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๐ ซึ่งได้ปรับปรุงจากเดิมในมาตรา ๖๕ ซึ่งบัญญัติโทษ (ภายหลังได้มีการยกเลิกฐานความผิดเกี่ยวกับการทุจริต) ปัจจุบันจึงยังคงมีฐาน
ประหารชีวิตสถานเดียวในกรณีที่ผลิต นำาเข้า หรือส่งออกยาเสพติดให้โทษประเภท ๑ ความผิดที่บัญญัติโทษประหารชีวิต จำานวน ๖๒ ฐานความผิด (รายละเอียดปรากฏ
ตามข้อ ๓. ในบทที่ ๒)
เพื่อจำาหน่าย แก้ไขโทษเป็นต้องระวางโทษจำาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งล้านบาท
ถึงห้าล้านบาท หรือประหารชีวิต ซึ่งผู้พิพากษามีโอกาสในการใช้ดุลพินิจได้ ๑.๓.๒ ข้อถกเถียงเกี่ยวกับการใช้และการยกเลิกโทษประหารชีวิต
นอกจากนี้ได้มีการบัญญัติบทลงโทษประหารชีวิต ในพระราชบัญญัติ การให้ยกเลิกโทษประหารเป็นประเด็นที่มีข้อถกเถียงเกิดขึ้นในทุกภาค
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ ส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเกิดเหตุอาชญากรรมรุนแรงสะเทือนขวัญขึ้น ยิ่งทำาให้
มาตรา ๑๒๓/๒ บัญญัติว่า “ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ หรือ กระแสของการยืนยันให้ยังคงมีโทษประหาร และเร่งรัดให้มีการบังคับโทษประหารชีวิต
เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ กับผู้กระทำาผิด ขณะเดียวกันก็ได้มีการรณรงค์ให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตอย่างต่อเนื่อง
อื่นใดสำาหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบเพื่อกระทำาการหรือไม่กระทำาการอย่างใด เช่นเดียวกัน เนื่องจากการประหารชีวิตนั้น ถือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนในการ
ในตำาแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษจำาคุกตั้งแต่ มีชีวิตอยู่ ซึ่งเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน
ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท ทั้งนี้ จึงได้มีข้อถกเถียงเกี่ยวกับการใช้และการยกเลิกโทษประหารชีวิต
หรือประหารชีวิต” ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้มีการตราพระราชบัญญัติประกอบ โดยสามารถสรุปได้ ดังนี้ (นัทธี จิตสว่าง, ๒๕๕๖; ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด, ๒๕๕๗)
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งได้มี ๑) ควรยกเลิกโทษประหารชีวิต ด้วยเหตุผลสนับสนุนดังนี้
การยกเลิกพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม ๑.๑) การประหารชีวิตถือว่าขัดหลักสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานในการ
การทุจริต (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ และใน พ.ร.บ. ฉบับใหม่ ไม่มีการบัญญัติบทลงโทษ มีชีวิตอยู่ และเป็นการกระทำาที่ละเมิดต่อกฎหมายระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
ประหารชีวิตไว้อีก ซึ่งการยกเลิกโทษประหารชีวิตไม่ได้สนับสนุนให้ผู้กระทำาผิดไม่ต้องรับโทษ หากแต่
๒) พัฒนาการเชิงลบ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่ผ่านมาพบว่า ประเทศไทย การประหารชีวิตเป็นการลงโทษที่รุนแรง โหดร้าย เป็นการลดทอนศักดิ์ศรีความ
ไม่ได้มีการบังคับโทษตามคำาพิพากษาประหารชีวิตมาเลย ซึ่งก่อให้เกิดความคาดหวัง เป็นมนุษย์ และอาจมีความเสี่ยงในการประหารชีวิตคนบริสุทธิ์ได้
ที่หากประเทศไทยไม่มีการประหารชีวิตติดต่อกันเป็นระยะเวลา ๑๐ ปี องค์การ ๑.๒) นักโทษประหารชีวิตส่วนใหญ่ไม่มีโอกาสในการต่อสู้คดีให้
สหประชาชาติจะถือว่าเป็นประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตในทางปฏิบัติทันที ชนะคดีได้ ด้วยข้อจำากัดที่ส่วนใหญ่แล้วมักมีฐานะยากจน ด้อยโอกาส ไม่สามารถจ้าง
ซึ่งจะถือได้ว่าเป็นพัฒนาการที่ดีในการยกเลิกโทษประหารชีวิตต่อไป หากแต่เมื่อวันที่ ทนายความแก้ต่างในคดีของตนได้
52 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 53