Page 56 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 56

๑.๓) ระบบยุติธรรมทางอาญามีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อผิดพลาด                คุ้มครองสิทธิมนุษยชน มีการศึกษาผลดีผลเสียในการยกเลิกโทษประหารชีวิต รวมทั้ง

          ในการตัดสินคดีให้เป็นธรรม โดยอาจมีการจับผิดคน หรือตัดสินผิดพลาด หากมี                การศึกษาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายโทษประหารชีวิต ซึ่งพบรายละเอียด
          การประหารชีวิตไปแล้วก็จะไม่มีโอกาสได้ใช้ชีวิตต่อไป                                   ในการขับเคลื่อนของภาครัฐที่เกี่ยวข้องในระยะที่ผ่านมา ดังนี้
                        ๑.๔) การใช้โทษประหารชีวิตไม่มีผลต่อการป้องกัน ยับยั้งอาชญากรรม                    ๑) แผนการดำาเนินงานของกระทรวงยุติธรรมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
                                             ๑
          ซึ่งจากการศึกษาวิจัยขององค์การสหประชาชาติ  พบว่า “งานวิจัยไม่สามารถค้นพบ             โทษประหารชีวิต
          ข้อยืนยันว่า การประหารชีวิตส่งผลในเชิงป้องปรามได้ดียิ่งกว่าการลงโทษจำาคุกตลอด                      สืบเนื่องจากสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้มี

          ชีวิต และไม่น่าเชื่อว่าจะมีข้อยืนยันเหล่านั้นอยู่จริง” อีกทั้งสถิติจากประเทศที่ยกเลิก  ข้อเสนอแนะนโยบายการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับโทษประหารชีวิตและหลัก
          โทษประหารชีวิตไปแล้ว พบว่า การไม่ใช้โทษประหารชีวิตไม่ได้ส่งผลให้อาชญากรรม            สิทธิมนุษยชนเสนอต่อนายกรัฐมนตรี (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, ๒๕๖๐)
          เพิ่มมากขึ้น                                                                         ซึ่งกระทรวงยุติธรรมได้รับมอบหมายให้ดำาเนินการจัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                        อนึ่ง งานวิจัยของสำานักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่ง              เพื่อจัดทำารายงานในประเด็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิต ซึ่งได้มีมติจาก
          สหประชาชาติ (UNODC) ระบุว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดอาชญากรรม คือ          การประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาและบังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม

          ความยากจน ความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความสามารถของรัฐ                 ครั้งที่ ๒/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๙ และคณะกรรมการพัฒนาการบริหาร
          ในการบังคับใช้กฎหมาย การรักษาหลักนิติธรรม                                            งานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) ครั้งที่ ๒/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๙ เห็นชอบ

                     ๒)  คัดค้านการยกเลิกโทษประหารชีวิต ด้วยเหตุผลสนับสนุน ดังนี้              กับแนวทางการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิต ดังนี้
                        ๒.๑) การประหารชีวิตเป็นการลงโทษที่ตอบแทนผู้กระทำาผิดได้                              ระยะที่ ๑  ปรับอัตราโทษความผิดบางประเภทจากที่มีโทษ

          สาสมกับความผิดที่กระทำาไว้ และสามารถชดเชยความรู้สึกทรมานให้แก่ผู้เสียหายได้          ประหารชีวิตสถานเดียวเป็นโทษอัตราขั้นสูงสุดประหารชีวิต  เพื่อให้ผู้พิพากษาสามารถใช้
                        ๒.๒) การประหารชีวิตสามารถเป็นเครื่องมือในการยับยั้งการกระ              ดุลพินิจที่จะลงโทษประหารชีวิตได้โดยไม่จำาเป็นต้องวางโทษประหารชีวิตสถานเดียว
          ทำาผิด และสร้างความสงบเรียบร้อยในสังคมได้                                            เท่านั้น ซึ่งการจะพิจารณาว่าฐานความผิดใดควรปรับอัตราการลงโทษไม่ให้เป็นโทษ


               ๑.๓.๓ แนวทางการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายโทษประหารชีวิต                                ประหารชีวิตเพียงอย่างเดียว ควรพิจารณาหลักเกณฑ์ในเรื่องการลงโทษประหารชีวิต
                     ประเด็นการเรียกร้องให้มีการยกเลิกโทษประหารชีวิตได้มีการดำาเนิน            ในการกระทำาความผิดที่ร้ายแรงที่สุด อาทิ ความผิดเกี่ยวกับชีวิต ความผิดที่ส่งผลถึง
          การกันมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการรณรงค์โดยองค์กรภาครัฐ  และเอกสารที่มุ่งเน้นการ         ความตายของผู้อื่น
                                                                                                             ระยะที่ ๒  ยกเลิกโทษประหารชีวิตในบางฐานความผิด โดยเฉพาะ
                                                                                               ในความผิดที่ไม่เกี่ยวกับชีวิต หรือเป็นความผิดที่ไม่ส่งผลถึงความตายของผู้อื่น เช่น
          ๑   งานวิจัย เรื่อง “คำาถามเกี่ยวกับโทษประหารและคุณูปการใหม่ของอาชญาวิทยาที่มีต่อประเด็นนี้:
          รายงานต่อคณะกรรมาธิการว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ศึกษา โดย     การลักพาตัวผู้อื่นเพื่อให้ได้มาซึ่งค่าไถ่ เจ้าพนักงานใช้อำานาจในตำาแหน่งหน้าที่
          Roger Hood ซึ่งภายหลังได้รับการปรับปรุงและตีพิมพ์ ภายใต้ชื่อ “โทษประหาร: ทัศนะในระดับโลก”   โดยมิชอบ เป็นต้น
          (“The Death Penalty: A World-wide Perspective”), Oxford: Clarendon Press.
                                                                                                             ระยะที่ ๓ ยกเลิกโทษประหารชีวิตในฐานความผิดที่เหลือทั้งหมด


          54                                     รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                     55
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61