Page 59 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 59
จากนั้นคณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ และเมื่อมีการเตรียมความพร้อมใกล้สมบูรณ์แล้ว คณะรัฐมนตรีควรลงมติเห็นชอบใน
สำานักงานกิจการยุติธรรม ได้นำาข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับโทษประหาร การสนับสนุนข้อมติเกี่ยวกับการพักการใช้โทษประหารชีวิตในการประชุมสหประชาชาติ
ชีวิตและหลักสิทธิมนุษยชนเสนอต่อคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ที่เกี่ยวข้อง
๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๙ รับทราบและเห็นชอบข้อเสนอของกระทรวงยุติธรรมดังกล่าว ๒.๒) การหยุดพักการใช้บทลงโทษประหารชีวิต ซึ่งไม่
๒) แผนปฏิบัติการตามข้อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุง จำาเป็นต้องให้ครบระยะเวลา ๑๐ ปี หากประเทศไทยพร้อมก็สามารถพักใช้บทลงโทษ
กฎหมายโทษประหารชีวิต ประหารชีวิตได้ทันที อีกทั้ง หากประเทศไทยพิจารณาเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับ
ในการประชุมหารือเพื่อพิจารณาแผนปฏิบัติการตามข้อเสนอแนะ ฉบับที่ ๒ ของ ICCPR จักต้องยกเลิกโทษประหารชีวิตทั้งหมดทันที ดังนั้น การเข้า
นโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายโทษประหารชีวิต เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม เป็นภาคีจึงต้องดำาเนินการเมื่อได้มีการเตรียมความพร้อมในทุกด้านก่อน
๒๕๖๒ ณ ห้องประชุมกระทรวงยุติธรรม ๑ กรุงเทพมหานคร ปรากฏรายละเอียด ดังนี้ ข้อเสนอดังกล่าวนี้ กำาหนดให้กระทรวงการต่างประเทศ และ
(กระทรวงยุติธรรม, ๒๕๖๒) กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพเป็นหน่วยงานติดตามและประเมินผลการดำาเนินการ
ภายในประเทศ
๒.๑) ข้อเสนอแนะเพื่อดำาเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
โทษประหารชีวิตโดยตรง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ๒.๑.๒) ข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย (กระทรวงยุติธรรม,
๒๕๖๒) ประกอบด้วย
๒.๑.๑) ข้อเสนอแนะทางนโยบาย ประกอบด้วย ๑) การจัดทำาหลักเกณฑ์สำาหรับการไม่กำาหนดให้มีโทษ
๑) การรณรงค์ให้ความรู้และความเข้าใจแก่สังคมไทยเกี่ยวกับ ประหารชีวิตในกฎหมายที่จะตราขึ้นใหม่ โดยส่วนราชการที่มีอำานาจในการจัดทำา
โทษประหารชีวิต โดยการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับหลัก กฎหมายควรพิจารณาความเหมาะสมของการบัญญัติบทลงโทษประหารชีวิตใน
การและเหตุผลความจำาเป็นในการปรับปรุงโทษประหารชีวิตจนเป็นที่ยอมรับในสังคม กฎหมายฉบับนั้นๆ และควรจัดทำาเหตุผลประกอบหรือข้อสังเกตเพื่อเสนอต่อ
ซึ่งกำาหนดหน่วยงานหลักในการดำาเนินการ คือ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และ คณะรัฐมนตรีประกอบการวินิจฉัย
สำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และหน่วยงานสนับสนุน คือ สำานักงาน ๒) การพิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย ดังต่อไปนี้
อัยการสูงสุด และสำานักงานศาลยุติธรรม ๒.๑) การดำาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีทั้งสาม
๒) การเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับฉบับที่ ๒ ของ ICCPR และ ระยะนั้น สามารถเริ่มต้นได้ง่ายที่สุด คือ การพิจารณาไม่กำาหนดโทษประหารชีวิต
สนับสนุนข้อมติเกี่ยวกับการพักการใช้โทษประหารชีวิตในการประชุมของสหประชาชาติ ในกฎหมายที่จะยกร่างใหม่ ตามความเหมาะสม รวมถึงการดำาเนินการ
ดังนี้
ในระยะที่ ๒ การยกเลิกโทษประหารชีวิตในฐานความผิดที่ไม่ใช่คดีอุกฉกรรจ์
๒.๑) การพิจารณาเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับ ซึ่งอาจดำาเนินการได้ง่ายกว่าการดำาเนินการในระยะที่ ๑ ที่เป็นการพิจารณาปรับ
ฉบับที่ ๒ ของ ICCPR โดยควรมีการเตรียมความพร้อมทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องด้วย อัตราโทษความผิดประหารชีวิตสถานเดียวเป็นอัตราโทษสูงสุด
การสร้างความรู้และความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับข้อปฏิบัติภายหลังการเข้าเป็นภาคี ๒.๒) การปรับปรุงกฎหมายมีความเกี่ยวข้องกับส่วน
56 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 57