Page 57 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 57
กรอบการท�า HRDD 7
2 จัดล�าดับความส�าคัญของผลกระทบเพื่อการลงมือปฏิบัติ
การลงมือปฏิบัติระดับพื้นที่ และระดับองค์กร
การลงมือปฏิบัติเพื่อรับมือกับผลกระทบเชิงลบด้านสิทธิมนุษยชนนั้นมักจะดีที่สุดถ้าทำาระดับพื้นที่ เพื่อให้มั่นใจ
ว่ามันสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและสภาพความเป็นจริงในพื้นที่ ในบางกรณีอาจจำาเป็นต้องให้บุคลากร ในบางสถานการณ์ ขีดจำากัดด้านทรัพยากรแปลว่าบริษัทจะต้องจัดลำาดับความสำาคัญของผลกระทบ เพื่อเลือก
จากสำานักงานใหญ่หรือระดับภูมิภาคมาตัดสินใจ โดยเฉพาะถ้าหากเกิดผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรงและ ผลกระทบที่บริษัทจะรับมือก่อน การจัดอันดับที่ว่านี้ควรขึ้นอยู่กับ ระดับความรุนแรง ของผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน
ต้องมีการตอบสนองอย่างเร่งด่วน นอกจากนี้ สำานักงานใหญ่อาจมีบทบาทที่สำาคัญได้ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เหนือสิ่งอื่นใด และการประเมินระดับความรุนแรงควรพิจารณาจากมุมมองของผู้มีส่วนได้เสียที่อาจได้รับผลกระทบ
ระหว่างพื้นที่ต่างๆ เกี่ยวกับวิธีรับมือ ทำาให้สิ่งที่โรงงาน สถานประกอบการ หรือพื้นที่โครงการใดโครงการหนึ่งทำาแล้ว ประกอบด้วย
ประสบความสำาเร็จสามารถเป็นต้นแบบให้ที่อื่นทำาตามได้ นอกจากนี้ บริษัทของคุณก็ควรจะนำาบุคลากรที่รับมือกับ
ประเด็นเดียวกันแต่ต่างพื้นที่กันมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันตรงๆ เพื่อรวบรวมและกระจาย “วิธีปฏิบัติอันเป็นเลิศ
(Best Practices)” นอกจากนี้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ยังอาจทำาให้เห็นความท้าทายร่วมกัน ซึ่งอาจเป็นประเด็น
ที่ต้องการแนวปฏิบัติใหม่จากสำานักงานใหญ่หรือปรับปรุงแนวปฏิบัติเดิม
เน้นความเสี่ยงต่อสิทธิมนุษยชนเป็นหลัก
บูรณาการเจ้าหน้าที่หลักในการตัดสินใจว่าจะรับมือกับผลกระทบอย่างไร การจัดลำาดับความสำาคัญของความเสี่ยง หรือทำา “แผนที่ความเสี่ยง” ปกติจะจัดอันดับความรุนแรง (หรือ “ผลลัพธ์”)
ของผลกระทบในแง่ของความเสี่ยงต่อบริษัท แต่สำาหรับกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านแล้ว
ปัจเจกบุคคลที่ต้องรับผิดชอบต่อการรับมือกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน ไม่ว่าจะในระดับพื้นที่หรือองค์กร ความรุนแรงเป็นเรื่องของความเสี่ยงต่อสิทธิมนุษยชน ในบางกรณีบริษัทของคุณจะเห็นได้ชัดเจนว่าผลกระทบใดบ้างน่าจะ
มักจะต้องติดต่อบุคลากรที่รับผิดชอบกิจกรรมทางธุรกิจหรือความสัมพันธ์ซึ่งอาจสร้างผลกระทบ แต่คนที่ใกล้ชิดที่สุดกับ รุนแรง บนพื้นฐานของปัจจัยต่อไปนี้
ผลกระทบจำาเป็นจะต้องมีส่วนร่วมในการระบุและลงมือแก้ปัญหา ไม่อย่างนั้นการแก้ปัญหาอาจไม่ยั่งยืน ถ้าหากบริษัท
ของคุณมีขนาดเล็ก การสื่อสารกันระหว่างวันอาจเป็นวิธี “บูรณาการ” ที่เพียงพอแล้ว แต่ถ้าบริษัทของคุณใหญ่กว่านั้น
คุณก็อาจต้องใช้วิธีที่เป็นระบบกว่านั้น ยกตัวอย่างเช่น • ขนาด ผลกระทบรุนแรงเพียงใด เช่น เป็นผลกระทบต่อสิทธิในการดำารงชีวิต
หรือสิทธิในสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงาน
• เยียวยาให้กลับสู่สภาพเดิมได้หรือไม่ได้ เยียวยาให้คนที่ได้รับผลกระทบ
กลับคืนสู่สถานการณ์ดั้งเดิมของพวกเขาก่อนที่จะเกิดผลกระทบได้หรือไม่
• จัดตั้งคณะทำางานภายในที่มีอำานาจตัดสินใจ สมาชิกมาจากหลายฝ่าย หรือว่ายากเพียงใด ยกตัวอย่างเช่น กรณีที่สถานที่สำาคัญทางศาสนาหรือ
• ให้บุคลากรจากฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้หารือกับผู้เชี่ยวชาญภายนอกเรื่องความ วัฒนธรรมของชนพื้นเมืองถูกทำาลาย
ท้าทายที่เฉพาะเจาะจง
• กำาหนดเกณฑ์การรายงานภายในที่ชัดเจน เกี่ยวกับการลงมือปฏิบัติตาม
สิ่งที่ตัดสินใจไปแล้ว
• ในบริบทที่มีความเสี่ยงสูงหรือผลกระทบที่รุนแรง อาจให้บุคลากรจาก ในกรณีทั่วไป บริษัทควรหารือกับผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบหรือตัวแทนของพวกเขา เพื่อทำาความเข้าใจว่า
ฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมาปรึกษาผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบเกี่ยวกับ ผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นรุนแรงเพียงใดในทางปฏิบัติ
วิธีจัดการกับผลกระทบที่เกิดขึ้น หรือให้ผู้บริหารระดับสูงมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจและติดตามควบคุม
56 57